กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน การสร้างให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความสามารถใน การแข่งขันมากขึ้น ส่งเสริมให้ประชาชนอาเซียนสามารถไปมาหาสู่กันได้ง่ายขึ้น เป็นพื้นฐานสำหรับการสร้างความเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นๆ รวมทั้งเอเชียตะวันออก มีทั้งการเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม กฎระเบียบต่างๆ และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน
ความเชื่อมโยงอาเซียน นอกอาเซียน ภายนอกประเทศ ชายแดน จุดผ่านแดน เส้นทางคมนาคมอาเซียน ปฏิสัมพันธ์ ความเชื่อมโยง ฐานการผลิต สถานะ ความสำคัญต่อประเทศ ระดับการพัฒนา ความสำคัญต่อจังหวัด ความเชื่อมโยงอาเซียน ภายในประเทศ จังหวัด ชุมชน
แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน China GMS BIMSTEC Japan BIMP-EAGA IMT-GT
สาระสำคัญ: แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ยุทธศาสตร์หลักสำหรับการพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ด้านกายภาพ (เส้นทางคมนาคมต่างๆ ICT และพลังงาน) ด้านสถาบัน กฎระเบียบ (การเอื้อประโยชน์ทางการค้าและ ด้านพรมแดน) ด้านประชาชนสู่ประชาชน (ด้านวัฒนธรรม และการเคลื่อนย้าย/ ไปมาหาสู่ของประชาชน) การระดมทรัพยากรเพื่อเพิ่มพูนความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน การดำเนินการให้เป็นไปตามแผนแม่บทฯ
บทบาทไทยในการขับเคลื่อนความเชื่อมโยงตามแผนแม่บทฯ ริเริ่ม โครงการสำรวจเส้นทางของรมว.กต. อาเซียน ในสองเส้นทางหลักที่มีศักยภาพ - เส้นทางหมายเลข 9: มุกดาหาร – สะหวันนะเขต – ดานัง (ม.ค. 53) - เส้นทาง R3A: เชียงของ – ห้วยทราย – จิ่งหง – คุนหมิง (ม.ค. 54) เพื่อผลักดันการเชื่อมโยงอาเซียนกับจีนตอนใต้ การผลักดันขั้นต่อไป - เส้นทางจากไทย – พม่า – แคว้นอัสสัม ในภาคตอ.เฉียงเหนือของอินเดีย (ปี 2554 – 2555)
บทบาทไทยในการขับเคลื่อนความเชื่อมโยงตามแผนแม่บทฯ (ต่อ) โครงการรถไฟความเร็วสูง ไทย – จีน - ครม. ให้ความเห็นชอบร่างกรอบเจรจาแล้ว เมื่อ 7 ก.ย. 53 - ครอบคลุมการพัฒนาเส้นทาง 3 สาย คือ 1) กรุงเทพฯ – หนองคาย 2) กรุงเทพฯ – ระยอง 3) กรุงเทพฯ – สุดชายแดนใต้ - โครงการจะเสริมสร้างเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจต่างๆ ที่มีอยู่เป็น อย่างดี
การเชื่อมโยงระหว่างกัน : จุดเปลี่ยนสำคัญทางเศรษฐกิจ การลงทุนในด้านโครงสร้างพื้นฐานในอาเซียนขนาดใหญ่แล้วเสร็จ ความร่วมมือเพื่อลดอุปสรรคทางด้านการค้าระหว่างประเทศที่มีมากยิ่งขึ้น การเปิดเสรีการค้า การค้าบริการ และการลงทุนเต็มรูปแบบ อาเซียนก้าวไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) จุดเปลี่ยนสำคัญของเศรษฐกิจในภูมิภาค ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการค้าในภูมิภาค ขยายตัวอย่างก้าวกระโดด
ผลที่ประเทศไทยจะได้รับ ประโยชน์ทางการค้า การเคลื่อนไหวของสินค้า ประชาชน โลจิสติกส์ ท่องเที่ยว เปลี่ยนจาก Transport Corridor เป็น Economic Corridor ด้วยการรองรับจากธุรกิจต่างๆ ดึงดูดการลงทุนต่างชาติเข้ามาในระบบสาธารณูปโภค ช่วยปูทางไปสู่ตลาดในเอเชียตะวันออก จีนตอนใต้ และอินเดีย ความเชื่อมโยงจะเป็น Win-Win Solution สำหรับไทยและ ASEAN
การเตรียมตัว รัฐและภาคเอกชนต้องเตรียมพร้อมรับมือการแข่งขัน ข้อควรคำนึง การพัฒนาและความร่วมมือนำมาซึ่งการแข่งขันที่สูงขึ้นทั้งสินค้าและบริการ สินค้าและผู้ประกอบการจากประเทศเพื่อนบ้านและในภูมิภาคเข้าสู่ตลาดภายในของไทยโดยเสรี หรือมีข้อจำกัดน้อย การเตรียมตัว รัฐและภาคเอกชนต้องเตรียมพร้อมรับมือการแข่งขัน
People-to-People Connectivity บทสรุป Physical Connectivity Institutional Connectivity Well-being of people in the region People-to-People Connectivity