งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายนิยม ไวยรัชพานิช “บทบาทเอกชนในการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายนิยม ไวยรัชพานิช “บทบาทเอกชนในการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายนิยม ไวยรัชพานิช “บทบาทเอกชนในการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”
หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย The Thai Chamber of Commerce and Board of Trade of Thailand “บทบาทเอกชนในการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ” โดย นายนิยม ไวยรัชพานิช รองประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย วันที่ 10 มิถุนายน ณ จังหวัดนครพนม

2 รูปแบบเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์ จะอยู่บริเวณพื้นที่ตอนใน สำหรับธุรกิจที่ไม่เหมาะกับชายแดน และธุรกิจที่เป็นอุตสาหกรรมแห่งอนาคต เช่น กิจการวิจัยและพัฒนา กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและใช้แรงงานน้อย เป็นต้น เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดน สำหรับธุรกิจที่ใช้แรงงานจำนวนมาก ธุรกิจที่ใช้วัตถุดิบจากท้องถิ่นบริเวณชายแดนหรือประเทศเพื่อนบ้าน และธุรกิจด้านโลจิสติกส์

3 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์
Super Cluster คลัสเตอร์สำหรับกิจการที่ใช้ เทคโนโลยีขั้นสูง และ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ตัวอย่างเช่น 9 จังหวัด นครราชสีมา พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง เชียงใหม่ ภูเก็ต ยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และ อุปกรณ์โทรคมนาคม ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดิจิทัล Food Innopolis Medical Hub

4 คลัสเตอร์เป้าหมายอื่นๆ
คลัสเตอร์อุตสาหกรรมอื่นที่มีศักยภาพ ตัวอย่างเช่น เกษตรแปรรูป ภาคเหนือ (แปรรูปผักผลไม้ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ปศุสัตว์ มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด) ภาคกลางตอนล่าง (อ้อย สับปะรด ยาง) ภาคตะวันออก (แปรรูปผลไม้ ยาง) ภาคใต้ (ปาล์ม อาหารทะเลแปรรูป ยาง) สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ฝั่งตะวันตก เชื่อมโยงกับแหล่งผลิตในเมียนมาร์ ฝั่งตะวันออก เชื่อมโยงกับแหล่งผลิตในกัมพูชา กรุงเทพฯ เป็นศูนย์กลางด้าน Design, Sourcing, Trading

5 วัตถุประสงค์ของการพัฒนาคลัสเตอร์
1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ Value Chain และนำไปสู่การสร้างฐานอุตสาหกรรมแห่งอนาคต 2. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพด้านการลงทุนของประเทศไทย เพื่อดึงดูด การลงทุนที่มีคุณค่าทั้งจากนักลงทุนรายเดิมและรายใหม่ 3. เพื่อกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น ตลอดจนสร้างโอกาสทางธุรกิจให้กับ SMEs

6 Cluster การพัฒนาคนและเทคโนโลยี การสนับสนุนเงินทุน
มาตรการสนับสนุนการพัฒนาคลัสเตอร์ การให้สิทธิประโยชน์ การพัฒนาคนและเทคโนโลยี การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การแก้ไขกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค การสนับสนุนเงินทุน Cluster

7 สิทธิประโยชน์สำหรับการลงทุนในคลัสเตอร์
Super Cluster คลัสเตอร์อื่นๆ Tax BOI ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี และ ลดหย่อน 50% เพิ่มเติมอีก 5 ปี ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 – 8 ปี ตามเกณฑ์ปกติ และลดหย่อน 50% เพิ่มเติมอีก 5 ปี กระทรวงการคลัง (อยู่ระหว่างพิจารณากำหนดรายละเอียด) สำหรับกิจการเพื่ออนาคตที่มีความสำคัญสูง จะพิจารณายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ปี ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับผู้เชี่ยวชาญชั้นนำระดับนานาชาติที่ทำงานใน พื้นที่ที่กำหนด ทั้งคนไทยและต่างชาติ Non-Tax อนุญาตให้ต่างชาติถือกรรมสิทธิ์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม จะพิจารณาให้ถิ่นที่อยู่ถาวร (Permanent Residence) สำหรับผู้เชี่ยวชาญชั้นนำระดับนานาชาติ

8 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ในรูปแบบชายแดน

9 SEZ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ : กรอบแนวคิด“เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน”ของไทย
เพิ่มความสามารถการแข่งขัน + ลดความเหลื่อมล้ำการพัฒนา + เสริมสร้างความมั่นคง กำหนดขอบเขตพื้นที่ SEZ OSS ใช้แรงงานต่างด้าว ศูนย์รวบรวมและรับซื้อสินค้าเกษตร SEZ ให้สิทธิประโยชน์ โครงสร้างพื้นฐาน-ด่าน พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษระยะแรกในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ ที่มา สศช.

10 10 อันดับด่านการค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน (ปี2558)
10 อันดับด่านการค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน (ปี2558) อัตราการเติบโต เทียบกับปี 2557 ด่านศุลกากร มูลค่า 1. ด่านศุลกากรสะเดา มาเลเซีย 324, ล้านบาท 2. ด่านศุลากากรปาดังเบชาร์ มาเลเซีย 154, ล้านบาท 3. ด่านศุลกากร จ.กาญจนบุรี พม่า 112, ล้านบาท 4. ด่านศุลกากรอรัญประเทศ กัมพูชา , ล้านบาท 5. ด่านศุลกากรแม่สอด พม่า , ล้านบาท 6. ด่านศุลกากร จ.หนองคาย สปป.ลาว , ล้านบาท 7. ด่านศุลกากรมุกดาหาร สปป.ลาว , ล้านบาท 8. ด่านศุลกากรคลองใหญ่ กัมพูชา , ล้านบาท 9. ด่านศุลกากร จ.ระนอง พม่า , ล้านบาท 10. ด่านศุลกากรแม่สาย พม่า , ล้านบาท -6.83 % 1.76 % -3.51 % -0.84 % 10.46 % 2.48 % 37.16 % 7.36 % -7.34 % -18.76%

11 ธุรกรรมที่ได้รับการส่งเสริมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ที่มา สศช.

12 สิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากกรมสรรพากร
ที่มา สศช.

13 ที่มา สศช.

14

15 สำนักงานจังหวัดฯ

16 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร
ที่มา สศช.

17 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
ที่มา สศช.

18 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษนครพนม
ที่มา สศช.

19

20 หนองคาย นครพนม มุกดาหาร

21 ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS Economic Corridor)

22 สิ่งที่ควรส่งเสริมในจังหวัดนครพนม
1. ด้านการค้า 2. ด้านการลงทุน 3. ด้านการท่องเที่ยว 4. ด้านโลจิสติกส์

23

24

25

26

27

28 ขอบคุณครับ หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
The Thai Chamber of Commerce and Board of Trade of Thailand ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt นายนิยม ไวยรัชพานิช “บทบาทเอกชนในการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google