วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/07/49.
กลไกการวิวัฒนาการ.
7.3 Example of solution of Poisson’s Equation
The Genetic Basis of Evolution
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
Introduction to EC, GA, GP
Charles Darwin เป็นนัก ธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไปสํารวจ และทําแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีป อเมริกาใต้ Darwin ได้ประสบการณ์ จากการศึกษาพืชและสัตว์ที่มีอยู่
1 การวิเคราะห์ งาน Job Analysis. INDM0419 Industrial HRM2 ความหมายของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งาน คือ กระบวนการที่มีระบบใน การกำหนดทักษะ หน้าที่ และความรู้ที่
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
บทที่ 1 บทนำสู่วิศวกรรมซอฟต์แวร์
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม
แนวคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
พัฒนาการของการวัดและประเมินผลการศึกษา
กลศาสตร์ของไหล Fluid Mechanics
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
อนุญาโตตุลาการ (Arbitration)
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
อาจารย์ไชยรัตน์ ศิรินคร
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
ประวัติของ ชาลส์ ดาร์วิน และ ผลงาน.
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 2 ขอบเขตการบังคับใช้ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
Techniques of Environmental Law
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิวัฒนาการ (evolution)
บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
ความหมายของปรัชญา.
แผนบริหารความเสี่ยง (องค์กร) ปี 2562 มทร.พระนคร
การใช้สิทธิตามกฎหมายและการติดตามตรวจสอบมาตรการตาม EIA
กฎหมายอาญา(Crime Law)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Robert Darwin)
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมนิเวศ (Ecological behavior)
บทที่ 6 บุคคล บุคคลคือผู้ทรงสิทธิหน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)
วิวัฒนาการ (evolution)
กลไกการเกิดวิวัฒนาการ
การคัดเลือกและ การประมาณพันธุศาสตร์ปริมาณ
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
เกรกอร์ โยฮันน์ เมนเดล
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
Introduction to Quantitative Genetics
โรเบิร์ต บอยล์ Robert Boyle
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
Chapter 1 Test and Game Environmental Science Foundation
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
การคิดและกระบวนการคิด
บทที่ 2 ปัจจัยที่จำเป็นต่อการพัฒนาหลักสูตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต (Evolution) เปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตอย่างช้าๆ สืบเนื่องจากอดีตมาจนปัจจุบันและในอนาคต มีทิศทางการเปลี่ยนแปลงแน่นอน ไม่ย้อนกลับ

แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ 1. Lamarck 1.1 กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่ได้มาใหม่ (Law of acquired characters)  ลักษณะที่ได้มาใหม่จากการฝึกฝน/อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมจะถ่ายทอดต่อไปยังลูกหลาน Ex.  พ่อตาบอด-แขนด้วนจากอุบัติเหตุจะถ่ายทอด ลักษณะไปให้ลูก  แม่ทำตา 2 ชั้น จะถ่ายทอดลักษณะไปให้ลูก

ควบคุมส่วนต่างๆ ของร่างกาย Lamarck (ค.ศ. 1744 – 1829) ได้เสนอทฤษฎี “The inheritance of acquired characters” Weismann (ค.ศ. 1834 – 1914) คัดค้านโดย 1. ตัดหางหนู 20 รุ่น  หนูทุกรุ่นยังคงมีหาง 2. เสนอทฤษฎี “The Continuity of Germplasm” Multicellular Organism Somatoplasm Germplasm ควบคุมส่วนต่างๆ ของร่างกาย ถ่ายทอดไม่ได้ ถ่ายทอดได้

1.2 กฎแห่งการใช้และไม่ใช้ (Law of use and disuse)  อวัยวะใดใช้อยู่เสมอๆ บ่อยๆ จะเจริญงอกงามดีอวัยวะใดไม่ได้ใช้จะลดขนาดเสื่อมสลายหายไปในที่สุด Ex.  ยีราฟในอดีตคอสั้น  พยายามยืดคอกินยอดไม้  ปัจจุบันยีราฟคอยาว  ต่อไปมนุษย์มีรูปร่างคล้าย ET  งูไม่มีขาเพราะชอบเลี้อย

2. Darwin เสนอทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Theory of Natural Selection) สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและมีการเพิ่มจำนวนในอันดับเราขาคณิต ประชาการแต่ละรุ่นค่อนข้างคงที่ แสดงว่าประชาการส่วนหนึ่งอยู่รอด ส่วนหนึ่งตายไป นั่นคือประชาการมีการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด ประชากรมีความแปรผันของลักษณะ (Variation) ลักษณะไม่เหมาะสม ไม่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม ลักษณะเหมาะสม สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม สูญพันธุ์ อยู่รอด

ในปี ค.ศ. 1859 ดาร์วิน และวอลเลช (Alfred Rusel Wallance) ได้เสนอทฤษฎีการเกิดสปีชีส์ใหม่ อันเนื่องมาจากคัดเลือกโดยธรรมชาติ 1. สิ่งมีชีวิตมีความสามารถในการสืบพันธุ์สูง จึงจะเพิ่มจำนวนตามอันดับเรขาคณิต 2. ตามธรรมชาติจำนวนประชากรสิ่งมีชีวิตมิได้เพิ่มมากเท่าที่ควรจะเป็นเนื่องจากอาหารมีจำกัด 3. สิ่งมีชีวิตที่แข็งแรง มีลักษณะเหมาะสมจะประสบความสำเร็จในต่อสู่เพื่อความอยู่รอด

4. สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ย่อมมีความแปรผันของลักษณะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ 5. การคัดเลือกทางธรรมชาติ ทำให้สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมมากกว่า มีโอกาสอยู่รอดเพื่อขยายแพร่พันธุ์และถ่ายทอดลักษณะนั้นไปยังรุ่นต่อไป 6. การเกิดสปีชีส์ใหม่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทีละน้อยจากบรรพบุรุษดั้งเดิม โดยขบวนการคัดเลือกทางธรรมชาติด้วยระยะเวลานานพอ

แผนภูมิแสดงแนวความคิดหลักตามทฤษฎีการคัดเลือก ความสามารถ ในการแพร่พันธุ์ (reproductive ability) + สิ่งแวดล้อมมีขีดจำกัด (Environmental restrictions) การต่อสู้ เพื่อความอยู่รอด (struggle for Existence) + การแปรผัน ของพันธุกรรม (Heritable variations) การคัดเลือก โดยธรรมชาติ (Natural selection) + การเปลี่ยนแปลง ของสิ่งแวดล้อม (Environmental changes) วิวัฒนาการ (Evolution) แผนภูมิแสดงแนวความคิดหลักตามทฤษฎีการคัดเลือก โดยธรรมชาติของชาร์ลส์ ดาร์วินและวอลเลช

ผีเสื้อกลางคืน ในปัจจุบันมียีราฟคอยาว  ในอดีตยีราฟคอสั้นและคอยาว ในปัจจุบันมียีราฟคอยาว Ex. ยีราฟคอสั้นตายไป  Melanism ในอังกฤษ ผีเสื้อกลางคืน พันธุ์สำตัวสีเข้มอยู่รอดสูงในเมือง แต่อยู่รอดต่ำในชนบท พันธุ์ลำตัวสีจางอยู่รอดต่ำในเมือง แต่อยู่รอดสูงในชนบท  ทารกพิการแต่กำเนิด เสียชีวิตแต่เยาว์วัย