งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์

2 การสอนแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างพอประมาณ ตามความจำเป็น อนุรักษ์และพัฒนา สอดคล้องกับวิถีชุมชน คำนึงถึงผลกระทบ คุณธรรม จริยธรรม มีเหตุผล ความพอประมาณ รอบรู้ รอบคอบ เรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งความรู้ชัดแจ้ง และ ความรู้ในคน ลปรร. เข้าใจเข้าถึง ใช้ประโยชน์ อนุรักษ์ ศึกษาและเข้าใจธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ซื่อสัตย์ ขยันอดทน แบ่งปัน ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม วิชาการ ความรู้ มีภูมิคุ้มกัน

3 สรุปหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

4 ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์
1.1 บทนำ ลำดับขั้นของสรรพสิ่ง วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการของมนุษย์ 1.2 ประเภทและประโยชน์ของ ความหลากหลายทางชีวภาพ ประเภท สาเหตุความหลากหลาย สถานะภาพในประเทศไทย ประโยชน์ 1.3 การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ สาเหตุของการสูญเสีย การสูญเสียในประเทศไทย ผลกระทบจากการสูญเสีย 1.4 การอนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ โดยใช้เทคโนโลยีนิเวศ ชุมชนกับการอนุรักษ์ ชุมชนกับการฟื้นฟูธรรมชาติ อยู่อย่างไรให้มีสุขในความหลากหลาย 1.5 บทสรุป – อนาคตในประเทศไทย

5 แนวคิดหลักเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ
สรรพสิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา สรรพสิ่งมี เกิด ตั้งอยู่ ดับไป การเปลี่ยนแปลงเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ที่เรียกโดยรวมว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)” เกิดความซับซ้อนจนกลายเป็นโลกที่มีชีวิตชีวา ที่เรียกว่า ชีวมณฑล (Biosphere)

6 แนวคิดหลักเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ (ต่อ)
เรียนรู้ ภูมิปัญญาแห่งธรรมชาติ ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใดเอาชนะธรรมชาติได้ เรียนรู้การอยู่ร่วมกันอย่างสมดุล และ มีสุข ในความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

7 การศึกษาสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตคืออะไร ? What ?
มีกำเนิดมาจากไหน ? Where ? เกิดขึ้นเมื่อไหร่ ? When ? ทำไมจึงเกิด ? Why ? วิวัฒนาการอย่างไร ? How ?

8 ความรุ้เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบสมาชิกในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมาชิก และความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับไม่มีชีวิต สามารถทำนายและวางแผนควบคุมได้เรียกว่า นิเวศวิทยา(Ecology)

9 ส่วนการศึกษาที่เน้นด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เช่นการถ่ายทอดพลังงาน
การหมุนเวียนของอาหาร เรียกว่าระบบนิเวศ (Ecosystem)

10 การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
1. ความสำคัญของแหล่งที่อยู่ที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต เป็นที่อยู่อาศัย หาอาหาร หลบภัยจากศัตรู ขยายเผ่าพันธุ์ ฯลฯ

11 2. ระดับการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามลำพัง มีหลายชนิดดำรงอยู่ด้วยกัน เริ่มจากระดับ ประชากร กลุ่มสิ่งมีชีวิตดังนี้

12 ลำดับขั้นของสรรพสิ่ง
ชีวมณฑล (Biosphere) ระบบนิเวศ (Ecosystem) ชุมชน (Community) ประชากร (Population) สิ่งมีชีวิต (Organism ) อวัยวะ (Organ) เนื้อเยื่อ (Tissue) เซลล์ (Cell) ออร์กาเนลล์ (Organelle) โมเลกุล (Molecule) อะตอม (Atom)

13 ลำดับขั้นของสรรพสิ่ง
ชีวมณฑล ระบบนิเวศ ชุมชน ประชากร ลำดับขั้นของสรรพสิ่ง สิ่งมีชีวิต

14 ออร์กาเนลล์ ลำดับขั้นของสรรพสิ่ง เซลล์ โมเลกุล อะตอม เนื้อเยื่อ อวัยวะ

15 ลำดับขั้นของสรรพสิ่ง
สิ่งมีชีวิต อวัยวะ เนื้อเยื่อ เซลล์ ออร์กาเนลล์ โมเลกุล อะตอม

16 ดร. อรรณพ วราอัศวปติ

17 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
สมบัติของสิ่งมีชีวิตขั้นพื้นฐาน 2 ประการ คือ (1) ความแตกต่าง หรือ ความหลากหลาย(Diversity) (2) ความเหมือน หรือ ความเป็นเอกภาพ (Unity)

18 ระบบนิเวศบนบก ( Terrestrial Ecosystem) ทุ่งหญ้า ป่าไม้
ระบบนิเวศเป็นระบบที่มีความสลับซับซ้อนของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกัน มีการกระทำร่วมกันในอาณาเขตที่ไม่แน่นอน เป็นระบบเปิด ระบบนิเวศบนบก ( Terrestrial Ecosystem) ทุ่งหญ้า ป่าไม้ ระบบนิเวศในน้ำ ( Aquatic Ecosystem) ระบบนิเวศน้ำจืด ระบบนิเวศน้ำกร่อย ดร. อรรณพ วราอัศวปติ

19 องค์ประกอบของระบบนิเวศ แบ่งออกได้เป็น 2 องค์ประกอบ
สิ่งที่มีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้ ( Autotrophic Organism) การสังเคราะห์แสง สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ( Heterotrophic Organism) เป็นพวกที่สามารถสลายโมเลกุลของวัตถุดิบ จัดเรียงโมเลกุลใหม่ นำพลังงานมาใช้ ดร. อรรณพ วราอัศวปติ

20 หากแบ่งตามบทบาทหน้าที่ สามารถแบ่งองค์ประกอบที่มีชีวิตได้เป็น
1. ผู้ผลิต คือสิ่งมีชีวิตที่สร้างคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 2. ผู้บริโภค( consumers) ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ผู้บริโภคปฐมภูมิ( primary consumers) สัตว์กินพืช -ผู้บริโภคทุติยภูมิ( secondary consumers) สัตว์กินสัตว์ -ผู้บริโภคตติยภูมิ( tertiary consumers) สัตว์กินสัตว์กินพืช 3. ผู้ย่อยสลาย ( Decomposes) ดร. อรรณพ วราอัศวปติ

21 Energy Transfer Cycle ดร. อรรณพ วราอัศวปติ

22 กฎการใช้และไม่ใช้ (Law of Use and Disuse)
โดยนักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศสชื่อ ลามาร์ค (Jean Baptise Lamarck) กฎการใช้และไม่ใช้ คือ อวัยวะที่มีความจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต มีการใช้งานมาก อวัยวะส่วนนั้นก็จะมีความแข็งแรงหรือมีประสิทธิภาพสูง แต่อวัยวะส่วนใดที่ใช้น้อยหรือไม่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต อวัยวะส่วนนั้นก็จะลดขนาดลงหรือลดความสำคัญลง หรือ อาจสูญหายไปเลย

23 บทที่ 1 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory) เกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection ) รูปของ Charles Darwin เมื่อปี 1881 (ก่อนเสียชีวิต 1 ปี) Charles Robert Darwin ( ) ดร. อรณพ วราอัศวปติ มมส.

24

25 ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory)
นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษชื่อ วัลเลส (Alfred Russel Wallace, ) ก็เสนอคำอธิบาย การเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตโดย ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของดาร์วิน

26 ทฤษฎีวิวัฒนาการยุคใหม่ (Neo-Darwinian Theory)
การเปลี่ยนแปลงทางวิวัฒนาการเกิดขึ้นโดยกลไกคัดเลือกตามธรรมชาติ ซึ่งนำไปสู่การปรับตัว (Adaptation) ของสิ่งมีชีวิต เพื่อการอยู่รอดในสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา

27 บทที่ 1 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
วิวัฒนาการ ของม้า ดร. อรณพ วราอัศวปติ มมส.

28 ศูนย์วิจัยและการศึกษาบรรพชีวินวิทยา มมส.

29 ชมรมนักศึกษาบรรพชีวินวิทยา มมส.

30

31 พิพิธภัณฑ์สิรินธร (พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว)
ตั้งอยู่ที่ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ ซึ่งถือเป็นพิพิธภัณฑ์ และศูนย์วิจัยเกี่ยวกับไดโนเสาร์ ที่สมบูรณ์แบบและใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

32 การคัดเลือกโดยมนุษย์ (Artificial Selection)
บทที่ 1 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน การคัดเลือกโดยมนุษย์ (Artificial Selection) ดร. อรณพ วราอัศวปติ มมส.

33 บทที่ 1 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
วิวัฒนาการของมนุษย์ ดร. อรณพ วราอัศวปติ มมส.

34 มนุษย์ปักกิ่ง มนุษย์ชวา

35

36 บทที่ 1 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biodiversity ) ดร. อรณพ วราอัศวปติ มมส.

37 ความหลากหลายทางชีวภาพ 2 Domain

38 การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต (Classification)

39 การตั้งชื่อวิทยาศาสตร์
ในการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตในขั้นชนิด (Species) นั้นเป็นไปตามระบบการตั้งชื่อ แบบทวินาม (Binomial system of nomenclature) คาโรลัส ลินเนียส ได้ใช้ตั้งชื่อ วิททยาศาสตร์ของชนิดพืชในหนังสือ Species Plantarum ในปี ค.ศ.1753 (พ.ศ. 2296) ชื่อวิทยาศาสตร์ของพืชประกอบด้วยกัน 3 ส่วน คือส่วนที่หนึ่งเป็น ชื่อสกุล (generic name) ส่วนที่สองเป็น คำระบุชนิด (specific epithet) และส่วนสุดท้ายคือ ชื่อของผู้ตั้งชื่อ (author name) ของพืชนั้น

40 กฎการเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
แต่ละส่วนมีกฎการเขียนดังนี้ ชื่อสกุล เป็นคำๆ เดียว เฉพาะตัวอักษรตัวแรกเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ อักษรตัวต่อไปเป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด คำระบุชนิด เป็นคำๆ เดียวหรือมากกว่าแต่ต้องมี "--" เชื่อมเพื่อให้เป็นคำๆ เดียวอักษร เป็นตัวพิมพ์เล็ก ชื่อของผู้ตั้งชื่อ วิทยาศาสตร์ของพืช พิมพ์ตัวอักษรปกติ มักใช้ชื่อสกุลของผู้ตั้งชื่อ ชื่อสกุล คำระบุชนิด และชื่อของผู้ตั้งชื่อ ให้พิมพ์แยกกัน 1 ช่องไฟ เฉพาะ 2 ส่วนแรก พิมพ์ตัวเอนหรือขีดเส้นใต้ (ไม่ต้องมีเส้นใต้ที่ช่องไฟ)

41 ตัวอย่าง ชื่อ วิทยาศาสตร์


ดาวน์โหลด ppt ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google