งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 บุคคล บุคคลคือผู้ทรงสิทธิหน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 บุคคล บุคคลคือผู้ทรงสิทธิหน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 บุคคล บุคคลคือผู้ทรงสิทธิหน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)
กฎหมายไทยยอมรับ บุคคลธรรมดา (Natural person) นิติบุคคล (Juristic person)

2 สภาพบุคคลของบุคคลธรรมดา เริ่มเมื่อ
1. คลอด (อวัยวะทุกส่วนพ้นจากตัวมารด )และ 2. อยู่รอดเป็นทารก ถือการหายใจเป็นเกณฑ์

3 หลักญาติสนิทตัดญาติห่าง ยกเว้น[1]ไม่ตัด[2]
ทายาท ทายาทโดยธรรม ผู้รับพินัยกรรม ญาติ หลักญาติสนิทตัดญาติห่าง ยกเว้น[1]ไม่ตัด[2] คู่สมรส ถ้ามี 1ได้เสมือนทายาทชั้นบุตร ถ้าไม่มี 1 แต่มี 2 หรือ 3 ได้ 1/2 ถ้ามี 4 หรือ5 หรือ6 ได้ 2/3 ถ้าไม่มี 1-6 ได้ส่วนแบ่งทั้งหมด 1.ผู้สืบสันดาน 2.บิดามารดา 3.พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4.พี่น้องร่วมบิดาหรือมารดา เดียวกัน 5.ปู่ ย่า ตา ยาย 6.ลุง ป้า น้า อา

4 ผู้สืบสันดาน ได้แก่ ลูก หลาน เหลน ลื้อ ต่อไปจนสุดสาย
ลูก หลาน เหลน ลื้อ ต่อไปจนสุดสาย ลูกเป็นชั้นสนิทที่จะมีสิทธิ ชั้นหลานเป็นต้นไปจะมีสิทธิต้องอาศัยการรับมรดกแทนที่ลูก เมื่อลูกตายก่อนเจ้ามรดก

5 บุตรที่จะมีสิทธิ รับมรดกมี 3 ประเภท
1. บุตรชอบด้วยก.ม 2. บุตรบุญธรรม (จดทะเบียน) 3. บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว

6 Personality begins with the full completion of birth
กฎหมายลักษณะมรดกบทที่ 48 “ลูกหลานอยู่ในครรภ์ ให้ปันไว้แก่มันส่วนหนึ่งฯลฯ เหตุว่าเป็นอยู่ในลูกหลาน มันได้เกิดปฏิสนธิแล้ว...

7 สิทธิของทารกในครรภ์มารดา
“ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิต่าง ๆ ได้ หากว่า ภายหลังเกิดมารอดอยู่” 1. สิทธิรับมรดก “ให้ถือว่าเด็กที่เกิดมารอดอยู่ภายใน 310 วัน นับแต่เวลาที่เจ้ามรดกถึงแก่ความตายนั้น เป็นทารกในครรภ์มารดาอยู่ในเวลาที่เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย”

8 ปฏิสนธิ วัน คลอด

9 2. สิทธิของเด็กที่จะเป็นบุตรชอบด้วย กฎหมายของบิดา
2. สิทธิของเด็กที่จะเป็นบุตรชอบด้วย กฎหมายของบิดา “เด็กเกิดแต่หญิงขณะเป็นภริยาชายหรือภายใน 310 วัน นับแต่วันที่การสมรสสิ้นสุดลง ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของชายผู้เป็นสามี หรือเคยเป็นสามีแล้วแต่กรณี”

10 3. สิทธิอย่างอื่น เช่นสิทธิในเนื้อตัว ร่างกาย อนามัย เป็นต้น ทารกในครรภ์ก็จะสามารถมีสิทธิหากมีกรณีที่จะขอให้กฎหมายคุ้มครองสิทธิ โดยการตีความเทียบเคียงเช่นกรณีที่ (1) และ (2) และใช้หลักกฎหมายทั่วไปว่า “ในกรณีที่จำต้องคุ้มครองสิทธิของทารกในครรภ์มารดาให้ถือเสมือนว่าเด็กทารกมีสภาพบุคคลเริ่มตั้งแต่เมื่อมีการปฏิสนธิ” เป็นหลักกฎหมายโรมัน

11 วันเกิดของบุคคล 1. ดูจากสำเนาทะเบียนบ้าน/สูติบัตร
1. ดูจากสำเนาทะเบียนบ้าน/สูติบัตร เกิดในบ้าน เจ้าบ้านต้อง แจ้งเกิด เกิดนอกบ้าน มารดา แจ้งเกิดภายใน 15 วัน การนับอายุของบุคคลให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่บุคคลนั้นเกิดเป็นต้นไป

12 *การนับระยะเวลา ไม่ให้นับวันแรกรวมเข้าไปด้วยเช่น อายุความละเมิด 1 ปีนับแต่วันทำละเมิดและรู้ตัวผู้ทำละเมิด ทำละเมิด วันที่ ม.ค. 59 เริ่มนับ ม.ค. 59 จะครบ 1 ปี (ต้องฟ้องศาลภายใน) ม.ค. 60 ครบ 1 ปี(คดีขาดอายุความแล้ว) ม.ค. 60

13 2. กรณีพ้นวิสัยที่จะทราบวันเกิด
2. กรณีพ้นวิสัยที่จะทราบวันเกิด รู้ว่าเกิดเดือนใด ให้ถือเกิดวันที่ 1 ของเดือน ไม่รู้ว่าเกิดวันและเดือนให้ถือว่าเกิดวันต้นปี ปฏิทิน ซึ่งเป็นปีที่บุคคลนั้นเกิด

14 วันต้นปีปฏิทินหลวง พ.ร.บ. ปีปฏิทิน พ.ศ. 2483
พ.ร.บ. ปีปฏิทิน พ.ศ. 2483 การใดที่ทำขึ้น หรือเกิดขึ้นก่อน วันที่ 18 ต.ค ให้ถือวันที่ 1 เม.ย. ตั้งแต่ 18 ต.ค ให้ถือวันที่ 1 ม.ค.

15 การสิ้นสภาพบุคคล 1.ตายธรรมดา(Death)
ป.พ.พ.ม.15สภาพบุคคลสิ้นสุดลงเมื่อตายมี2 กรณี 1.ตายธรรมดา(Death) 2. ตายโดยผลของกฎหมาย คือสาบสูญ (Disappearance)

16 1.ตายธรรมดา(Death) หยุดทำงาน ระบบประสาทกลางได้แก่สมอง
ระบบไหลเวียน หัวใจ ระบบหายใจ ปอด การทำงานทั้ง 3 ส่วนหยุด หยุดทำงาน

17 สมอง ระบบการ หายใจ O2 ระบบการไหลเวียน ของโลหิต เลือด
หลักเดิม แนวปฏิบัติจะดูการหยุดหายใจประกอบการหยุดเต้นของหัวใจเป็นเกณฑ์ตัดสินว่าตายและสมองหยุดทำงาน

18 แนวคิดใหม่ในการวินิจฉัยว่าตาย
สมองตายโดยวัดจากคลื่นสมอง แพทย์อย่างน้อย 2 คน คือแพทย์เจ้าของคนไข้ 1 คน กับแพทย์อื่น 1 คน (ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะ ร่วมกันวินิจฉัยสมองตาย แล้วให้ผู้อำนวยการ (หรือผู้แทน) เป็นผู้ประกาศการตาย เหตุผล เรื่องการปลูกถ่ายเปลี่ยนอวัยวะ

19 ถ้าเป็นการพ้นวิสัยที่จะกำหนดว่าคนไหนตาย ก่อนหลัง ให้ถือว่าตายพร้อมกัน
วันตายของบุคคล 1. ดูจากใบมรณะบัตร เจ้าบ้านหรือผู้พบศพต้องแจ้งการตายภายใน 24 ชั่วโมง 2. กรณีบุคคลหลายคนตายใน เหตุภยันตรายร่วมกัน ถ้าเป็นการพ้นวิสัยที่จะกำหนดว่าคนไหนตาย ก่อนหลัง ให้ถือว่าตายพร้อมกัน ผลคือ ไม่มีสิทธิรับมรดกซึ่ง กันและกัน

20 สาบสูญ (Disappearance) มีหลักเกณฑ์
1. ผู้นั้นหายไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ โดยไม่มีใครรู้แน่ว่ามีชีวิตอยู่หรือไม่ ตลอดระยะเวลา กรณีปกติ 5 ปีหรือ กรณีพิเศษ 2 ปี นับแต่ 1. สงคราม/การรบสิ้นสุดลงหรือ 2. วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทางอับปาง ถูกทำลายหรือสูญหายหรือ 3.วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิตประการอื่นได้ผ่านพ้นไป

21 นาย ก. - ออกจากบ้าน ม.ค. 55 - ขึ้นเครื่อง ม.ค. 55 - ถึง J. ลง VISA ม.ค. 55 - จ.ม. ลงวันที่ ม.ค. 55 - ส่ง จ.ม ม.ค. 55 - ญาติรับ จ.ม ม.ค. 55

22 *วันที่ทราบข่าวคราวครั้งหลังสุดคือ 11 ม.ค. 55
เริ่มนับ ม.ค. 55 จะครบ 5 ปี ม.ค. 60 ครบ 5 ปี ม.ค. 60 (เริ่มร้องศาลได้) ศาลสั่ง มี.ค. 60 โฆษณาคำสั่ง เม.ย. 60 * ถือว่าตายวันครบ 5 ปี คือ ม.ค. 60

23 กรณีพิเศษ ออกลาดตระเวน 10 มี.ค. 57 ถูกซุ่มโจมตี 15 มี.ค. 57 วันสิ้นสุดลาดตระเวน 20 เม.ย. 57 เริ่มนับวันถูกซุ่มฯ 15 มี.ค. 57 เริ่มนับจริงวันถัดไป 16 มี.ค. 57 จะครบ 2 ปี 15 มี.ค. 59

24 ครบ 2 ปี 16 มี.ค. 59 (เริ่มร้องศาลได้)
ศาลสั่ง มิ.ย. 59 โฆษณาคำสั่ง ก.ค. 59 * ถือว่าตายในวันครบ 2 ปีคือ 16 มี.ค. 59

25 2. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือพนักงานอัยการร้องขอต่อศาล
2. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือพนักงานอัยการร้องขอต่อศาล เช่น ทายาท สามี ภริยา พ่อ แม่ ลูก เป็นต้น 3. ศาลมีคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญ

26 ผลของการเป็นคนสาบสูญ คือตาย
ให้ถือว่าตายในวันที่(ย้อนหลัง)ครบ 5 ปีหรือ 2 ปีแล้วกรณี ไม่ว่าศาลจะมีคำสั่งในวันใดก็ตาม มรดกของผู้ตายย่อมตกทอดสู่ทายาท

27 การถอนคำสั่งให้สาบสูญ
ถ้าพิสูจน์ว่า ยังมีชีวิตอยู่หรือ ตายในเวลาอื่น ผิดไปจากเมื่อครบ 5 ปี/2 ปี เมื่อถอนแล้ว บุคคลผู้ได้ทรัพย์สินมาต้องคืน ในฐานะลาภมิควรได้(เพียงเท่าที่ยังเป็น ลาภแก่ตนและสุจริตอยู่)

28 ความสามารถของบุคคล ใช้สิทธิ อาจถูกจำกัดเพื่อคุ้มครอง
มีสิทธิ ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน ใช้สิทธิ อาจถูกจำกัดเพื่อคุ้มครอง เหตุอ่อนอายุ ได้แก่ ผู้เยาว์ เหตุบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ หรือ ความประพฤติ ได้แก่ คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ

29 ผู้เยาว์ คือ บุคคลที่ยังไม่ บรรลุนิติภาวะ
ผู้เยาว์ คือ บุคคลที่ยังไม่ บรรลุนิติภาวะ การบรรลุนิติภาวะ โดยอายุ-เมื่อครบ 20 ปีบริบูรณ์ (ม.19) โดยการสมรส-เมื่อทำถูกต้องตามเงื่อนไขที่ว่า 1. ชาย-หญิงอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์แล้ว 2. ยกเว้นมีเหตุสมควร ศาลอนุญาตให้ สมรส ก่อนอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์ (ม ม. 1448)

30 ความสามารถในการทำนิติกรรมของผู้เยาว์
ใช้สิทธิภายใต้การควบคุมช่วยเหลือจากบุคคลอื่นโดย -บุคคลอื่นทำแทนหรือ -บุคคลอื่นให้ความยินยอมผู้เยาว์ไปทำนิติกรรม หลัก ป.พ.พ.ม. 21 “ผู้เยาว์ทำนิติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน นิติกรรมใด ๆ ที่ผู้เยาว์ได้กระทำโดยปราศจากความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม ท่านว่าเป็น โมฆียะ

31 ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์
1. ผู้ใช้อำนาจปกครอง คือ บิดา-มารดา 2. ผู้ปกครองโดยศาลตั้ง

32 ข้อยกเว้น นิติกรรมที่ผู้เยาว์ทำเองโดยไม่ต้องขอ
ข้อยกเว้น นิติกรรมที่ผู้เยาว์ทำเองโดยไม่ต้องขอ ความยิน ยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม 1. นิติกรรมที่เป็นคุณประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว โดยไม่มีเงื่อนไขหรือค่าภาระติดพัน ได้มาซึ่งสิทธิ เช่น การรับของจากการให้โดยเสน่หา หลุดพ้นหน้าที่ เช่น ปลดหนี้ให้โดยไม่มีเงื่อนไข

33 2. นิติกรรมที่ผู้เยาว์ต้องทำเองเฉพาะตัว (คนอื่นทำ
2. นิติกรรมที่ผู้เยาว์ต้องทำเองเฉพาะตัว (คนอื่นทำ แทนไม่ได้) Ex การรับรองบุตร, จดทะเบียนรับบุตรชอบด้วยกฎหมาย ผู้เยาว์ทำพินัยกรรม (อายุ 15 ปี มิฉะนั้นเป็นโมฆะ) 3 นิติกรรมที่จำเป็นเพื่อการเลี้ยงชีพและสมแก่ฐานานุรูปของผู้เยาว์ Ex ซื้ออาหาร, ขึ้นรถโดยสาร

34 คนไร้ความสามารถ (Incompetent)
คือ บุคคลวิกลจริต ที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หลักเกณฑ์ 1. เป็นคนวิกลจริต คือ พวกสมองพิการ โรคจิต จิต ฟั่นเฟือน หรือมีจิตบกพร่อง ต้องเป็นอย่างมากถึงขนาดขาดความรำลึก พูดจาไม่รู้เรื่อง ไม่สามารถจัดทำกิจการงาน ของตนเองได้ ต้องเป็นอยู่ประจำ แต่ไม่จำเป็นต้องเป็นตลอด เวลา

35 2. ถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
2. ถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ผู้มีสิทธิยื่นคำร้องขอให้ศาลสั่ง 1. ภริยาหรือสามีของบุคคลวิกลจริต 2. ผู้บุพการีได้แก่ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย 3. ผู้สืบสันดานได้แก่ ลูก หลาน เหลน 4. ผู้ปกครอง 5. ผู้พิทักษ์ 6 ผู้ซึ่งปกครองดูแล 7. พนักงานอัยการ  มีผลตั้งแต่วันที่ศาลสั่งเป็นต้นไป

36 ผลของการเป็นคนไร้ความสามารถ
1. ต้องจัดอยู่ในความอนุบาลของผู้อนุบาล - ยังไม่สมรสได้แก่ บิดา มารดา ยกเว้นศาลสั่งเป็นอย่างอื่น - สมรสแล้ว ได้แก่ คู่สมรส

37 2. ความสามารถในการทำนิติกรรม
2. ความสามารถในการทำนิติกรรม ไม่มีความสามารถทำกรรมได้เลย แม้เป็นเรื่องต้องทำ เองเฉพาะตัวก็ตาม นิติกรรมที่คนไร้ความสามารถทำลงไปตกเป็นโมฆียะ ผู้อนุบาลเป็นผู้ทำนิตกรรมต่าง ๆ แทน และไม่มี อำนาจให้ความยินยอมแก่คนไร้ความสามารถ  การสิ้นสุดการเป็นคนไร้ความสามารถ เมื่อเหตุที่ทำให้ไร้ความสามารถสิ้นสุดลงไปแล้วก็อาจขอให้ศาลสั่งเพิกถอนคำพิพากษานั้นได้

38 คนวิกลจริตที่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
ทำนิติกรรมใด ๆ ถือว่าสมบูรณ์ ยกเว้นพิสูจน์ได้ว่า 1. ทำในขณะผู้นั้นวิกลจริต และ 2. คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วว่าผู้ทำนิติ กรรมวิกลจริต ผลตกเป็นโมฆียะ

39 คนเสมือนไร้ความสามารถ (Quasi-Incompete)
ยังไม่ถึงกับวิกลจริต หลักเกณฑ์ 1. มีเหตุบกพร่องบางอย่างใน 4 ประการ - กายพิการไม่สมประกอบ หูหนวก ใบ้ ตาบอด - จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ ยังไม่ถึงขั้นวิกลจริต - ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ - มีนิสัยใช้จ่าย อย่างไม่มีประโยชน์ เกินกว่ารายได้ Ex ชอบเล่น การพนัน - ติดสุรายาเมา ซึ่งขาดเสียมิได้

40 2. ไม่สามารถจัดทำการงานของตนได้เพราะเหตุ บกพร่อง
3. ศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ ผู้มีสิทธิร้องขอต่อศาล (เช่นเดียวกับคนไร้ความสามารถ )

41 ผลของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
จัดอยู่ในความดูแลของ ผู้พิทักษ์ หลักการทำนิติกรรม ยังมีความสามารถอยู่ บ้าง จึงทำนิติกรรมได้โดยลำพัง ยกเว้น นิติกรรมบางชนิดที่กฎหมายกำหนด (มีผลจับจ่าย เงินทุนอย่างมาก) ต้องได้รับความยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อน มิฉะนั้นตกเป็นโมฆียะ ได้แก่

42 1. รับหรือใช้เงินทุน 2. ทำสัญญากู้ยืม หรือรับประกัน 3. ทำให้ได้มาหรือปล่อยไปซึ่งสิทธิใสังหา ริมทรัพย์ หรืออสังหาริมทรัพย์อันมีค่า

43 5. ให้โดยเสน่หา 6. รับหรือบอกสละความเป็นทายาท 9. เช่าหรือให้เช่าสังหาริมทรัพย์เกิน 6 เดือน อสังหาริมทรัพย์เกิน 3 ปี 10. นิติกรรมใดซึ่งศาลกำหนดให้ขอความยินยอม ของผู้พิทักษ์ก่อน

44 นิติบุคคล (Juristic Persons)
คือ ที่รวมของกลุ่มผลประโยชน์หรือทรัพย์สินของบุคคลที่ ได้รับการรับรองคุ้มครองในกฎหมายให้มีสิทธิ-หน้าที่ได้ หรือเป็นผู้ทรงสิทธิ-หน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)

45 องค์ประกอบของนิติบุคคล
มีการรวมกันของกลุ่มผลประโยชน์หรือทรัพย์สิน มีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน มีการจัดองค์กรเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกลุ่ม

46 ทฤษฎีที่อธิบายความเป็นนิติบุคคล
1.ทฤษฎีที่ถือว่านิติบุคคลเป็นสิ่งสมมุติ(Fiction) 2.ทฤษฎีนิติบุคคลโดยสภาพ ที่ถือว่านิติบุคคล เป็นความเป็นจริงที่พิสูจน์ได้ (reality)

47 ประเภทของนิติบุคคล 1. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน
1. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน 2. นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน

48 1. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน
1. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน มีอำนาจพิเศษที่เรียกว่า อำนาจมหาชน -ออกกฎหมายหรือออกคำสั่งได้ฝ่ายเดียว -บังคับได้โดยไม่ต้องฟ้องศาล -ทรัพย์สินสาธารณย่อมได้รับการคุ้มครองพิเศษ จัดตั้งโดยกฎหมายของรัฐ

49 ประเภทนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน
1.1 รัฐ 1.2 องค์กรที่รับการกระจายอำนาจ ทางเขตแดน- องค์กรปกครองท้องถิ่นต่าง ๆ ทางบริการ - รัฐวิสาหกิจ การกีฬาแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยของรัฐ 1.3วัดในศาสนาพุทธ

50 2. นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน
2. นิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาของบุคคล(เอกชน) ไม่มีอำนาจมหาชน ใช้วิธีดำเนินการตามกฎหมายเอกชน

51 ประเภทนิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน
- ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน - บริษัทจำกัด - สมาคม - มูลนิธิ - นิติบุคคลอื่น ๆ เช่น สหกรณ์ วัดในศาสนาอื่น ๆ

52 สิทธิ-หน้าที่ของนิติบุคคล
1. ภายในขอบวัตถุประสงค์ที่จัดตั้งนิติบุคคล 2. สิทธิหน้าที่เท่าบุคคลธรรมดา ยกเว้น สิทธิ-หน้าที่ ซึ่งว่าโดยสภาพจะพึงมีพึงได้เฉพาะแก่บุคคลธรรมดาเท่านั้น

53 การจัดการ ผ่านทางผู้แทนนิติบุคคลซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา
มีอำนาจตามตราสารหรือข้อบังคับของนิติบุคคล

54 นิติบุคคล ผู้แทน บุคคลภายนอก ผู้แทนจะทำการใด ๆ ต้องทำภายในขอบเขต อำนาจ ถ้าผู้แทนทำเกิน, นอกเขต ผู้แทนต้องรับผิดชอบโดยส่วนตัว(Ultra vires : เกินอำนาจ)


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 บุคคล บุคคลคือผู้ทรงสิทธิหน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google