งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
7.1 นโยบายและมาตรการของรัฐ 7.2 การค้าระหว่างประเทศ 7.3 องค์กรระหว่างประเทศ 7.4 การเมืองระหว่างประเทศ

2 การค้าระหว่างประเทศจำแนกตามมูลค่าการส่งออกและนำเข้าของไทย
Billion$

3 7.2 การค้าระหว่างประเทศ บทบาทการค้าระหว่างประเทศต่อการพัฒนา ประเทศ มี 2 แนวคิด การค้ามีส่วนสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศกำลังพัฒนา การค้าเป็นอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนา

4 7.2 การค้าระหว่างประเทศ แนวคิดที่ว่าการค้าสนับสนุนการพัฒนาฯ
Alfred Marshall : “The causes that determine the economic progress of nations belong to the study of international trade” การค้าก่อให้เกิดผลประโยชน์ 2 ลักษณะ คือ ผลประโยชน์เชิงสถิต (static benefits) ผลประโยชน์เชิงพลวัต (dynamic benefits)

5 7.2 การค้าระหว่างประเทศ ผลประโยชน์เชิงสถิต: เกิดจากการแบ่งงานกันทำตามกฎการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (law of comparative advantage) แล้วนำสินค้ามาแลกเปลี่ยนกัน/ค้าขาย ผลจากการค้า ทำให้มีการจัดสรรทรัพยากรภายใน ประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ผลผลิตรวมโลกเพิ่มขึ้น และแต่ละประเทศได้รับส่วนแบ่งจากผลผลิตรวมที่เพิ่มขึ้น

6 7.2 การค้าระหว่างประเทศ สินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตร
o สินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตร a i Production Possibility Curve อัตราแลกเปลี่ยนสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรม = 20/100 = 0.2 (20) (100)

7 7.2 การค้าระหว่างประเทศ สินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตร
การค้าทำให้ได้อัตราแลกเปลี่ยนใหม่ที่ดีขึ้น เป็น 30/100 = 0.33 ประเทศได้รับประโยชน์จากความชำนาญและการค้า คือ มีสินค้าและสวัสดิการ w2 w1 (30) f (20) i G b c E สินค้าเกษตร o a (100)

8 7.2 การค้าระหว่างประเทศ สินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตร
ถ้าไม่มีการค้าระหว่างประเทศ เกิดจุด G ไม่ได้เพราะอยู่เหนือเส้น PPC w2 w1 (30) f (20) i G b c E สินค้าเกษตร o a (100)

9 7.2 การค้าระหว่างประเทศ มีข้อสมมุติว่า “ประเทศได้มีการใช้ปัจจัยการผลิตอย่างเต็มที่แล้ว ไม่มีปัจจัยการผลิตใดว่างงานอยู่ ทำให้การผลิตจึงอยู่ ณ จุดต่างๆ บนเส้น PPC” ในสภาพจริง การผลิตอยู่ใต้เส้น PPC การผลิตที่ใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้นทำให้ผลิตได้เพิ่มขึ้น แต่Demand ในประเทศอาจ  supply ที่ผลิตได้ การค้ากับต่างประเทศเท่ากับเป็นการระบายผลผลิตส่วนเกิน (vent for surplus theory of international trade)

10 7.2 การค้าระหว่างประเทศ สินค้าอุตสาหกรรม Demand ในประเทศยังคงเดิม
“ทฤษฎีการค้าต่างประเทศในแง่เป็นทางระบายส่วนเกิน” T w2 P S w1 i F U X R Y T สินค้าเกษตร o a

11 7.2 การค้าระหว่างประเทศ ทฤษฎีการค้าต่างประเทศในแง่เป็นทางระบายส่วนเกิน
ข้อสมมุติ: ทรัพยากรส่วนเกินที่ใช้ผลิตสินค้าเพื่อส่งออกนั้นไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางอื่นได้ และ ไม่สามารถนำไปใช้ผลิตสินค้าชนิดที่สนองความต้องการภายใน ประเทศได้ เช่น แร่ดีบุก ทองแดง ยางพารา ที่มีมากเกินความต้องการใน ประเทศ

12 7.2 การค้าระหว่างประเทศ ทฤษฎีการค้าต่างประเทศในแง่เป็นทางระบายส่วนเกิน
อธิบายสาเหตุการขยายตัวอย่างรวดเร็วได้ดีกว่ากฎการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ เพราะ กฎการได้เปรียบฯ ไม่สามารถอธิบายได้ว่า เหตุใด 2 ประเทศที่คล้ายคลึงกัน มีการพัฒนาการส่งออกได้ไม่เท่าเทียมกัน เป็นการยากที่จะเชื่อว่า เกษตรกรรายเล็กๆ จะผลิตสินค้าตามความชำนาญตามกฎการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ เพื่อให้ระดับความเป็นอยู่ดีขึ้น การค้าระหว่างประเทศทำให้สามารถผลิตได้ถึงระดับการจ้างงานเต็มที่ มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

13 7.2 การค้าระหว่างประเทศ ผลประโยชน์เชิงพลวัตร (dynamic benefits):
เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ อำนวยให้สามารถขยายสมรรถภาพการผลิตออกไปได้เรื่อยๆ เมื่อระยะเวลาผ่านไป ผลประโยชน์เกิดขึ้นเนื่องจาก การค้าระหว่างประเทศช่วยขจัดอุปสรรคจากการที่ตลาดภายใน ประเทศมีขนาดเล็กเกินไป Mill: “การขยายตัวของตลาดมีแนวโน้มที่ทำให้เกิดการปรับปรุงกระบวนการผลิต” => ขยายการผลิต ทำให้เกิด economy of scale

14 7.2 การค้าระหว่างประเทศ ผลประโยชน์เชิงพลวัตร (dynamic benefits):
2. การค้าระหว่างประเทศทำให้สามารถจัดหาวัสดุ เครื่องมือเครื่อง ใช้ต่างๆ ที่จำเป็นต่อการพัฒนาได้ => ปรับปรุงประสิทธิภาพ 3. การติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ ทำให้มีโอกาสนำเข้าความรู้เทคนิควิทยาการต่างๆและเพาะความคิดใหม่ๆ => กระตุ้นการพัฒนาเศรษฐกิจ 4. การติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ เปิดโอกาสในการเรียนรู้ถึงความสำเร็จ ความล้มเหลว ใช้เป็นบทเรียนในการพัฒนาประเทศได้รวดเร็วขึ้น

15 7.2 การค้าระหว่างประเทศ ผลประโยชน์เชิงพลวัตร (dynamic benefits):
5. การค้าระหว่างประเทศมีส่วนสนับสนุนการสะสมทุนหรือเคลื่อน ย้ายทุนระหว่างประเทศ เช่น การลงทุนจากต่างประเทศ ทำให้ แรงงานในประเทศมีงานทำ 6. การค้าระหว่างประเทศเป็นนโยบายที่ต่อต้านการผูกขาด ทำให้เกิดการแข่งขันเพิ่มขึ้น => เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพ ผลประโยชน์เชิงพลวัตร จะเป็นตัวกระตุ้นให้เส้น PPC ของประเทศเลื่อนสูงขึ้นตลอดเวลา ขณะที่ผลประโยชน์เชิงสถิต การผลิตอยู่บนเส้น PPC แต่การบริโภคอยู่เหนือเส้น PPC

16 7.2 การค้าระหว่างประเทศ แนวคิดที่ว่าการค้าระหว่างประเทศเป็นอุปสรรคขัดขวาง การพัฒนาเศรษฐกิจ “เพราะการค้าระหว่างประเทศอย่างเสรีก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันระหว่างประเทศมากขึ้น” ประเทศที่พัฒนาแล้วจะได้ประโยชน์จากการค้าเพิ่มขึ้น โดยมีสาเหตุสำคัญ 4 ประการ 1. ผลจากการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศ การเคลื่อนย้ายทุน เป็นการมาใช้ปัจจัยการผลิตในประเทศกำลังพัฒนา แล้วนำผลได้ส่งกลับประเทศที่พัฒนาแล้ว การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ ไปสู่ประเทศพัฒนาแล้ว

17 7.2 การค้าระหว่างประเทศ 2. ผลจากการเลียนแบบอย่างกัน (Demonstration Effect) การค้าระหว่างประเทศก่อให้เกิดการเลียนแบบการบริโภคจากประเทศที่พัฒนาแล้ว ทำให้มีการบริโภคสูงเกินจำเป็น การออมต่ำและการสะสมทุนทำได้จำกัดมากขึ้น (Propensity to saving ลดลง) 3. ผลจากอัตราการค้าที่เลวลง ราคาสินค้าอุตสาหกรรมที่นำเข้ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ราคาสินค้าขั้นปฐมที่ส่งออกมีแนวโน้มลดต่ำลง ทำให้มีการโอนรายได้จากประเทศกำลังพัฒนาไปสู่ประเทศพัฒนาแล้ว

18 7.2 การค้าระหว่างประเทศ 4. ผลจากดุลการชำระเงินที่เลวลง
Raul Prebish: การค้าระหว่างประเทศทำให้เกิดปัญหาด้านดุลการชำระเงิน เพราะความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ของสินค้าอุตสาหกรรมมีค่าสูงกว่าสินค้าขั้นปฐม(เกษตร) อัตราการนำเข้าของประเทศกำลังพัฒนาจะเพิ่มขึ้นเร็วกว่าอัตราการส่งออก การขยายการส่งออก โดยใช้มาตรการลดค่าเงิน ทำให้ดุลการค้าขาดดุลมากขึ้น

19 7.2 การค้าระหว่างประเทศ จากเหตุผลดังกล่าว ประเทศกำลังพัฒนาจึงเห็นควรดำเนินนโยบายการค้าคุ้มกัน (Protection Policy) เพื่อสร้างการผลิตภายในประเทศทั้งภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ประเทศพัฒนาแล้ว กดดันประเทศกำลังพัฒนาให้เปิดตลาดการค้ามากขึ้น ให้มีการใช้นโยบายการค้าเสรี ในขณะที่ประเทศพัฒนาแล้วใช้วิธีใหม่ๆ ในการกีดกั้นการค้าจากประเทศกำลังพัฒนา

20 มูลค่าการส่งออกจำแนกตามกิจกรรมการผลิต
1997 1998 1999 2000 2001 r 2002 r 2003 Agriculture 183,962 211,092 184,947 197,117 212,423 221,350 275,571 Fisheries 72,227 89,268 78,851 91,744 89,983 70,422 72,989 Forestry 1,285 1,355 2,448 3,429 4,197 6,306 7,897 Mining 16,561 17,869 13,886 31,425 26,314 30,329 38,156 Manufacturing 1,489,055 1,849,753 1,865,705 2,371,869 2,454,202 2,504,718 2,854,351 Labor intensive products 258,997 303,601 287,610 325,525 356,464 340,184 339,053 High-tech products 947,755 1,228,235 1,259,579 1,686,283 1,689,584 1,726,628 1,976,267 Resource based products 162,970 194,309 198,747 223,138 247,002 251,447 274,944 Samples & other unclassified goods 37,509 71,892 64,551 74,529 95,433 84,585 71,589 Re-exports 6,100 6,225 4,790 3,713 4,242 6,230 5,461 Total exports 1,806,699 2,247,454 2,215,178 2,773,826 2,886,794 2,923,940 3,326,014

21 โครงสร้างการส่งออกแยกตามหมวดสินค้า ปี 2545
สินค้าออกที่สำคัญ 10 รายการหลัก ในช่วง 11 เดือนแรกของปี 2545 ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ซึ่งมีมูลค่าการส่งออกสูงสุดคือ 6,883.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (14%) ถัดมาได้แก่ แผงวงจรไฟฟ้า 3,141.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ยานพาหนะและอุปกรณ์ 2,713.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เสื้อผ้าสำเร็จรูป 2,480.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัญมณีและเครื่องประดับ 2,001.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ 1,953.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป 1,855.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เม็ดพลาสติก 1,642.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ยางพารา 1,568.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และข้าว 1, ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมูลค่าการส่งออก 10 รายการหลักรวมกันเท่ากับ 25,729.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ ของมูลค่าการส่งออกรวม ในช่วง 11 เดือนของปีนี้ โครงสร้างการส่งออกแยกตามหมวดสินค้า ปี 2545

22 โครงสร้างตลาดส่งออกของไทย ปี 2545


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google