ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพุทธ ปรัชญาเต๋า-ขงจื๊อ บทที่3 แนวคิดทางปรัชญาและศาสนา ในการดำเนินชีวิต การดำเนินชีวิตตามหลักศาสนาธรรม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพุทธ ปรัชญาเต๋า-ขงจื๊อ
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 1.อาศรม 4 ขั้นตอนการดำเนินชีวิต 4ประการ 1. พรหมจารี(อายุ8-25ปี)- ประพฤติประเสริฐอย่างพรหมอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน 2. คฤหัสถ์ (อายุ26-45ปี)- ครองเรือนทำมาหากินสร้างฐานะให้มั่นคง 3.วนปรัสถ์ (อายุ46-65ปี)- ผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคง มุ่งทำประโยชน์ต่อส่วนรวมต่อไป 4. สันยาสี (อายุ66 ปีขึ้นไป) – นักบวช ผู้สละทรัพย์สมบัติทุกอย่างมุ่งบำเพ็ญธรรมเพื่อเข้าถึงโมกขษะต่อไป
ศาสนาอิลาม เชื่อว่าจิตมนุษย์ มี 3 ระดับ คือ จิตมีบาป จิตที่สำนึกผิด จิตที่ผ่องแผ้ว ถ้าปฏิบัติตามหลักคำสอนของพระเจ้ามีหลักสำคัญ 3 ประการ คือ หลักศรัทธา หลักปฏิบัติ และหลักคุณธรรม หรือจริยธรรม
หลักศรัทธา มี 6 ประการ คือ 1. ศรัทธาในพระอัลเลาะห์ 2. ศรัทธาในทูตผู้รับใช้ 3. ศรัทธาในคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ 4. ศรัทธาในบรรดาองค์ศาสดา 5. ศรัทธาในชีวิตปรโลก 6. ศรัทธาในกฎกำหนดสภาวะ
หลักปฏิบัติ 5 ประการ การปฏิบัติตน การละหมาด การทำซะกาต การถือศีลอด การบำเพ็ญฮัจน์
หลักคุณธรรมหรือ อริยสัจ 5 ประการ หะลาล ซุนนะฮ มูบะฮ มักรูฮ หะรอม
ศาสนาคริสต์ มนุษย์มีความสำคัญกับพระเจ้าโดยตรง การกระทำของมนุษย์เพื่อสนองพระประสงค์(The will)ของพระเจ้า หรือ ความรักของพระผู้เป็นเจ้า มีกล่าวในคัมภีร์ไบเบิล คือ ความรัก ทรงตรัสว่า “จงรักศรัตรูของท่านและอธิฐาน เพื่อที่ผู้ข่มเหงเบียดเบียนของท่าน ถ้าท่านรักเฉพาะผู้ที่เบียดเบียนท่านทนั้น ท่านจะหวังบำเหน็จรางวัล จากพระเจ้าได้อย่างไร เพราะตคนชั่วเลวทรามก็จะทำเช่นนั้นเหมือนกัน” การช่วยเหลือผู้อื่น “เมื่อท่านทำทานจงอย่าร้องอวดอ้างผู้อื่น เมื่อท่านให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลคนหนึ่งคนใด จงอย่าแพร่งพรายให้ผู้อื่นรู้ เสมือนหนึ่งไม่ยอมให้มือซ้ายรู้ถึงกิจการที่มือขวากระทำ”
3. การให้อภัยซึ่งกันและกัน “ถ้าท่านยกโทษให้แก่ผู้กระทำผิดต่อท่านพระบิดาของท่านผู้ซึ่งอยู่ในสรวงสวรรค์ก็จะยกโทษให้แก่ท่านด้วย แต่ถ้าท่านไม่ยอมยกโทษให้แก่เขา พระองค์ก็จะไม่ทรงโปรดยกโทษให้แก่ท่านเช่นเดียวกัน”
พระพุทธศาสนา หลักธรรมสำหรับประโยชน์สูงสุด คือ “อริยสัจ4” ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการคือ 1. ทุกข์ ความขัดแย้ง ความไม่สมบูรณ์ ความคับแค้นใจ 2. สมุทัย เหตุแห่งทุกข์เรียกว่า “ตัณหา”มี 3ประการคือ 2.1 กามตัณหา ความอยากในกามคุณทั้ง 5 รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส 2.2 ภวตัณหา ความอยากมี อยากได้ และอยากเป็น 2.3 วิภวตัณหา ความไม่อยากมี อยากได้ อยากเป็น (อยากมากก็เกิดความทุกข์มาก
พระพุทธศาสนา(ต่อ) 4.มรรค วิถีทางที่จะน้ำไปสู่การดับ 3.นิโรธ ความดับทุกข์ เปรียบเสมือนสะพานเชื่อมเพื่อไปถึงซึ่งหนทางดับทุกข์ 4.มรรค วิถีทางที่จะน้ำไปสู่การดับ การให้สัมภาษณ์พระดาไลลามะไทย PBS http://www.youtube.com/watch?v=rhNy_yLlF90
หลักการดำเนินชีวิตตามลัทธิขงจื้อ ลัทธิขงจื้อ ผู้ก่อตั้ง “ขงจื้อ” มีอิทธิผลต่อชาวจีนมากที่สุด หลักคุณธรรม 5 ประการ - ความสุภาพอ่อนโยน ผู้สุภาพอ่อนโยนจะไม่ต่ำต้อย - ความไม่เห็นแก่ตัว ผู้ไม่เห็นแก่ตัวจะชนะใจมหาชน - ศรัทธาที่ดีงามผู้มีศรัทธาที่ดีประชาชนก็จะเชื่อถือ - ความขยัน ผู้ขยันจะบรรลุจุดประสงค์ที่วางไว้ - ความเมตตากรุณา ผู้ที่มีเมตาตากรุณาจะได้รับบริการจากประชาชน
หลักมนุษยสัมพันธ์ 5 ประการ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองบ้านเมืองกับประชาราษฎร์ ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดากับบุตรธิดา ความสัมพันธ์ระหว่างสามีกับภรรยา ความสัมพันธ์ระหว่างวงศาคณาญาติ ความสัมพันธ์ระหว่างมิตรสหาย
หลักการเนินชีวิตตามลัทธิเต๋า เต๋า แปลว่า ธรรมชาติ ท่านเล่าจื้อ กล่าวไว้ว่า “สรรพสิ่งเกิดจากเต๋าและจะกลับไปหาเต๋า ถ้าอยากรู้จักเต๋าต้องเข้าหาธรรมชาติ” ปรัชญาชีวิตของ เล่าจื้อ 4 ประการ - จื้อใจ รู้จักตัวของตัวเองให้ถูกต้อง - จื้อเซ่ง ชนะตัวของตัวเองได้ -จื้อจก มีความรู้จักพอด้วยตัวเอง ไม่ทะเยอทะยาน - จื้อเต๋า มีเต๋าเป็นอุดมคติ
อำนาจผู้ใหญ่ 4 ประการ มนุษย์ เดินไปตามทางของโลก (แผ่นดิน) โลก เดินไปตามทางสวรรค์(แผ่นฟ้า) สวรรค์ เดินไปตามทางของเต๋า (มรรควิถี) เต๋า เดินไปตามทางของเต๋าเอง(เต๋า เต๋อ จิง) ภาพยนตร์ มู่หลาน Mulan มู่หลาน ภาค1 1/3 http://video.mthai.com/player.php?id=18M1317777593M0MMulan มู่หลาน ภาค1 2/3 http://video.mthai.com/player.php?id=18M1317778501M0MMulan มู่หลาน ภาค1 2/3 http://video.mthai.com/player.php?id=18M1317795641M0M
กิจกรรม(ภาพจากนักศึกษา.ที่เข้าร่วมกิจกรรม ทำวัตรเย็นที่ “วัดใหญ่” จิตอาสาพัฒนา “ศาสนสถาน”ใกล้บ้าน ให้นักศึกษานำภาพที่เข้าร่วมกิจกรรมนำเสนออภิปราย