งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

น้ำมัน. ภาพรวมน้ำมัน น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป การจัดหา น้ำมันดิบ ในประเทศ นำเข้า 83% 17% ตะวันออกกลาง 56% ตะวันออกไกล 12% อื่นๆ 15% 1,015,005 บาร์เรล/วัน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "น้ำมัน. ภาพรวมน้ำมัน น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป การจัดหา น้ำมันดิบ ในประเทศ นำเข้า 83% 17% ตะวันออกกลาง 56% ตะวันออกไกล 12% อื่นๆ 15% 1,015,005 บาร์เรล/วัน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 น้ำมัน

2 ภาพรวมน้ำมัน น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป การจัดหา น้ำมันดิบ ในประเทศ นำเข้า 83% 17% ตะวันออกกลาง 56% ตะวันออกไกล 12% อื่นๆ 15% 1,015,005 บาร์เรล/วัน 1.3% 1,102 พันบาร์เรล/วัน 88% 98,316 บาร์เรล/วัน การใช้ การนำเข้า การส่งออก การผลิต นำเข้า 8%8% โรงกลั่น 33% โรงแยกก๊าซ 59% ปิโตรเคมี 28% ครัวเรือน 35% อุตสาหกรรม 10% ขนส่ง 25% ใช้เอง 2% 509 พันตัน/เดือน 12.9% 511 พันตัน/เดือน 10.0% เดือน ม.ค. – มี.ค. 2559 170 ล้านลิตร/วัน 1.9% 141 ล้านลิตร/วัน 6.2% 12 ล้านลิตร/วัน 11.0% 25 ล้านลิตร/วัน 16.5% การจัดหา การใช้ การจัดหาและการใช้ LPG ในประเทศ การผลิต คอนเดนเสท การใช้กำลัง การกลั่น นำเข้า

3 3 การจัดหาน้ำมันดิบ สัดส่วนการจัดหาน้ำมันดิบ ผลิตในประเทศตะวันออกกลางตะวันออกไกลแหล่งอื่นๆ 2559* การนำเข้าน้ำมันดิบจากตะวันออกกลางเพิ่มขึ้น ส่วนการนำเข้าจากตะวันออกไกล และแหล่งอื่นๆลดลง บาร์เรล/วัน 15% 64% 8%8% 15% 56%56% 20% 14%14% 15% 64%64% 7% 9%9% 15%15% 55%55% 17% 13% * เดือน ม.ค.-มี.ค. หมายเหตุ : Big Oil Project ของบริษัท ยูโนเเคล (เดิม) ประกอบด้วย แหล่งปลาทอง ปลาหมึก กะพง สุราษฎร์ และยะลา 3 รวมการจัดหาน้ำมันดิบ 1,015,005 บาร์เรล/วัน 17%17% 56%56% 12% 15%

4 การนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิต รวมนำเข้า 76,786,628 บาร์เรล หรือคิดเป็น 12,208 ล้านลิตร 2559* * เดือน ม.ค.-มี.ค. 4 การนำเข้าน้ำมันดิบ 0.2% สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซาอุดิอาระเบีย โอมาน กาตาร์ อื่นๆ (ตะวันออกกลาง) ตะวันออกกลาง มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน อื่นๆ (ตะวันออกไกล) ตะวันออกไกล สหภาพโซเวียต ออสเตรเลีย อื่นๆ (แหล่งอื่นๆ) แหล่งอื่นๆ

5 การผลิตคอนเดนเสท บาร์เรล/วัน สัดส่วน การผลิตคอนเดนเสท รวมทั้งสิ้น 98,316 บาร์เรล/วัน เอราวัณ อื่นๆ ฟูนานและจักรวาล ไพลิน บงกช อาทิตย์ 2559* สตูล บรรพต ตราด โกมินทร์ 5 การผลิตคอนเดนเสท 1.3% * เดือน ม.ค.-มี.ค.

6 การใช้กำลังการกลั่นของประเทศ พันบาร์เรล/วัน (KBD) หมายเหตุ : - กำลังการกลั่นของ PTTGC เป็นกำลังการกลั่นน้ำมันดิบ 145 KBD และคอนเดนเสท 135 KBD - RPCG หยุดการกลั่นน้ำมันตั้งแต่เดือนมีนาคม 2555 6 Capacity Intake 1,252 พันบาร์เรล/วัน 1,102 พันบาร์เรล/วัน ปี 2559* FANGTOPBCPESSOIRPCPTTGCSPRC RPCGรวม สัดส่วนการใช้ กำลังการกลั่น (%) 42121121558484878767108-8 * เดือน ม.ค.-มี.ค.

7 การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป ล้านลิตร/วัน สัดส่วน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา LPG ดีเซล น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 170 ล้านลิตร/วัน 2559* 7 การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป 1.9% * เดือน ม.ค.-มี.ค.

8 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (ล้านลิตร/วัน) ล้านลิตร/วัน สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 141 ล้านลิตร/วัน หมายเหตุ : LPG ไม่รวมที่ใช้เป็นวัตถุดิบในปิโตรเคมี 2559* * เดือน ม.ค.-มี.ค. 8 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 6.2% เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา LPG ดีเซล น้ำมันก๊าด

9 ล้านลิตร/วัน หมายเหตุ : LPG ไม่รวมที่ใช้เป็นวัตถุดิบในปิโตรเคมี * เดือน ม.ค.-มี.ค. 9 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 6.2% เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา LPG ดีเซล น้ำมันก๊าด การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (พันบาร์เรลต่อวัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป รวม ทั้งสิ้น 885 พันบาร์เรล/วัน 2559*

10 การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป ล้านลิตร/วัน สัดส่วน การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 12 ล้านลิตร/วัน 2559* หมายเหตุ : ปี 2558-2559 การนำข้า LPG ลดลง เนื่องจากมีการผลิต จากโรงกลั่นและโรงแยกก๊าซภายในประเทศเพิ่มขึ้น * เดือน ม.ค.-มี.ค. 10 การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป 11.0% เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา LPG ดีเซล

11 การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป ล้านลิตร/วัน สัดส่วน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา LPG ดีเซล น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 25 ล้านลิตร/วัน 2559* 11 การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป 16.5% * เดือน ม.ค.-มี.ค.

12 การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปของไทยแยกรายประเทศ ** เขตต่อเนื่อง หมายถึงพื้นที่เขตต่อเนื่องที่เกินกว่า 12 ไมล์ทะเล *** อื่นๆ ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ ฯลฯ สัดส่วนการส่งออก น้ำมันสำเร็จรูปรายประเทศ สิงคโปร์ มาเลเซีย อื่นๆ*** ล้านลิตร/วัน เขตต่อเนื่อง กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม 2559* 12 77 % ส่งออกสิงคโปร์ ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย * เดือน ม.ค.-มี.ค.

13 การจัดหา LPG พันตัน/เดือน สัดส่วนการจัดหา LPG โรงแยกก๊าซ โรงกลั่นน้ำมัน นำเข้า รวมทั้งสิ้น 509 พันตัน/เดือน หมายเหตุ : 1. LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน 2. ปี 2558-2559 การนำข้า LPG ลดลง เนื่องจากมีการผลิต จากโรงกลั่นและโรงแยกก๊าซภายในประเทศเพิ่มขึ้น 2559* * เดือน ม.ค.-มี.ค. 13 การจัดหา LPG 12.9%

14 การใช้ LPG พันตัน/เดือน สัดส่วนการใช้ LPG ครัวเรือน ขนส่ง ปิโตรเคมี อุตสาหกรรม ใช้เอง รวมทั้งสิ้น 511 พันตัน/เดือน 2559* * เดือน ม.ค.-มี.ค. 14 การใช้ LPG 10.0% LPG หมายเหตุ : 1. LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน 2. ใช้เอง หมายถึง ผู้ผลิตใช้เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตเอง 3. ปี 2556 – 2557 การใช้ LPG ภาคครัวเรือนลดลง โดยเพิ่มขึ้นในภาคขนส่งจากมาตรการสกัดกั้นการลักลอบ จำหน่าย LPG ผิดประเภท และจำกัดโควต้าโรงบรรจุ LPG 4. ปี 2558-2559 การใช้ LPG ภาคขนส่ง และปิโตรเคมีลดลง จากมาตรการปรับโครงสร้างราคา LPG ให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง ทำให้ภาพรวมการใช้ LPG ปรับสู่สมดุลมากขึ้น โดยการใช้ LPG ในภาคขนส่ง ลดลงเนื่องจากผู้ใช้รถยนต์บางส่วนกลับไปใช้น้ำมันซึ่งมีราคาถูกลงทดแทน เช่นเดียวกับการใช้ในภาค ปิโตรเคมี ที่ลดลงเนื่องจากกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าวเปลี่ยนไปใช้แนฟทาในการทำ cracking แทน LPG


ดาวน์โหลด ppt น้ำมัน. ภาพรวมน้ำมัน น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป การจัดหา น้ำมันดิบ ในประเทศ นำเข้า 83% 17% ตะวันออกกลาง 56% ตะวันออกไกล 12% อื่นๆ 15% 1,015,005 บาร์เรล/วัน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google