งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โอวาท๓ / ไตรสิกขา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โอวาท๓ / ไตรสิกขา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โอวาท๓ / ไตรสิกขา

2 โอวาท ๓ หรือพุทธโอวาท สจิตฺตปริโยทปนํ การทำจิตให้บริสุทธิ์
สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง กุสลสฺสูปสมฺปทา การทำความดีให้ถึงพร้อม สจิตฺตปริโยทปนํ การทำจิตให้บริสุทธิ์

3 ทางแห่งการทำกรรม * ทางกาย เรียกว่า กายกรรม * ทางวาจา เรียกว่า วจีกรรม
* ทางกาย เรียกว่า กายกรรม * ทางวาจา เรียกว่า วจีกรรม * ทางใจ เรียกว่า มโนกรรม

4 สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง
สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง * ทางกาย เรียกว่า กายทุจริต * ทางวาจา เรียกว่า วจีทุจริต * ทางใจ เรียกว่า มโนทุจริต

5 กุสลสฺสูปสมฺปทา การทำความดีให้ถึงพร้อม
* ทางกาย เรียกว่า กายสุจริต * ทางวาจา เรียกว่า วจีสุจริต * ทางใจ เรียกว่า มโนสุจริต

6 สจิตฺตปริโยทปนํ การทำจิตให้บริสุทธิ์
สะอาด สว่าง สงบ

7 แนวคิดสำคัญจากหลักธรรมโอวาท ๓
ให้รู้จักละเว้นความชั่ว ให้ขยันถ้วนทั่วในความดี ทำใจให้ปลอดโปร่งจากราคีทุกชนิด

8 ชีวิตที่สมบูรณ์ และเป็นสุขตลอดกาล

9 ไตรสิกขา ข้อปฏิบัติที่จะต้องศึกษา ๓ อย่างคือ
อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา เรียกสั้น ๆ ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา ข้อปฏิบัติที่เป็นหลักสำหรับศึกษาอบรมเพื่อฝึกหัด กาย วาจา จิตใจ และปัญญาให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป จนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ นิพพาน

10 สมาธิ (Concentration)
องค์ประกอบ ศีล (Morality) สมาธิ (Concentration) ปัญญา (Wisdom)

11 ปัญญา ไตรสิกขา ศีล สมาธิ

12 ลักษณะของไตรสิกขา ศีล กาย,วาจา สมาธิ จิตใจ ปัญญา ความคิด
เป็นหลักธรรมสัมพันธ์สำหรับฝึกตน เป็นขั้นตอนจากส่วนที่หยาบไปหาส่วนที่ละเอียด ศีล กาย,วาจา สมาธิ จิตใจ ปัญญา ความคิด

13 ศีล ( Morality ) การฝึกอบรมในด้านความประพฤติ ระเบียบ
วินัย ความสุจริต ทางกาย วาจา และอาชีวะ เมื่อฝึกถึงจุดหนึ่ง จึงเรียกได้ว่าเป็น อธิศีลสิกขา

14 การฝึกคนให้อยู่ในระบบระเบียบ
วินัย กับ ศีล การจัดระบบ ระเบียบ วินัย ตัวระบบ ระเบียบ การฝึกคนให้อยู่ในระบบระเบียบ มีต่อ

15 คุณสมบัติที่เกิดขึ้นใน
ศีล๘ คุณสมบัติที่เกิดขึ้นใน ตัวบุคคล ที่ปฏิบัติตามวินัย เรียกว่า ศีล ศีล๑๐ ศีล๕ ศีล๓๑๑ ศีล๒๒๗

16 วิธีการเสริมสร้างวินัย
๑. ทำให้เป็นพฤติกรรมเคยชิน ๒. ทำตามอย่างวัฒนธรรม ๓. ใช้ปัจจัยอื่นช่วยเสริม ๔. ปลูกฝังอุดมคติ ๕. ใช้กฎเกณฑ์บังคับ

17 ประโยชน์ของศีล สีเลน สุคตึ ยนฺติ มีสุคติ ปลอดภัยไม่ถูกทำโทษ
สีเลน สุคตึ ยนฺติ มีสุคติ ปลอดภัยไม่ถูกทำโทษ สีเลน โภคสมฺปทา ทรัพย์สินเงินทองไม่สูญหาย สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ ใจสงบเป็นสุขทุกเวลา

18 สมาธิ ( concentration )
การฝึกอบรมทางใจ การปลูกฝังคุณธรรม สร้างเสริมคุณภาพ และสมรรถภาพของจิต เมื่อฝึกถึงจุดหนึ่ง จึงเรียกได้ว่าเป็น อธิจิตตสิกขา

19 ควรแก่การงาน (กัมมนียะ)
คุณลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ ตั้งมั่น ( สมาหิตะ) บริสุทธิ์ ( ปริสุทธะ ) ควรแก่การงาน (กัมมนียะ)

20 ปัญญา ( Wisdom ) การศึกษาอบรม ทางปัญญา ให้เกิดความรู้
การศึกษาอบรม ทางปัญญา ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในสิ่งทั้งหลาย ตามความเป็นจริง โดยไม่อิงความรู้สึกตนเอง เมื่อฝึกถึงจุดหนึ่ง จึงเรียกได้ว่าเป็น อธิปัญญาสิกขา

21 ประตูแห่งการเกิดปัญญา
พรสวรรค์ พรแสวง สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา ภาวนามยปัญญา

22 ระดับของปัญญา จำได้ เข้าใจ เข้าถึง

23 ปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดปัญญา
กลฺยาณมิตฺตตา สีลสมฺปทา ฉนฺทสมฺปทา อตฺตสมฺปทา ทิฏฺฐิสมฺปทา อปฺปมาทสมฺปทา โยนิโสมนสิการสมฺปทา

24 ไตรสิกขากับการดำเนินชีวิต
รักษาระเบียบกฎเกณฑ์ในขณะทำหน้าที่ คือ ศีล ทำหน้าที่ด้วยความตั้งใจ ไม่วอกแวกฟุ้งซ่าน คือ สมาธิ ไตร่ตรองหาข้อบกพร่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไข คือ ปัญญา

25 ความสัมพันธ์กันระหว่าง โอวาท ๓ กับ ไตรสิกขา
ความสัมพันธ์กันระหว่าง โอวาท ๓ กับ ไตรสิกขา โอวาท ๓ ไตรสิกขา ศีล ๑.ไม่ทำชั่วทั้งปวง สมาธิ ๒.ทำแต่ความดี ๓.ทำจิตให้บริสุทธิ์ ปัญญา

26 ความสัมพันธ์ระหว่าง โอวาท ๓ - ไตรสิกขา - มรรค การทำจิตให้บริสุทธิ์
โอวาท 3 ปัญญาสิกขา ( พาจิตสว่าง) 1.สัมมาทิฎฐิ เห็นชอบ 2.สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ การทำจิตให้บริสุทธิ์ 3. สัมมาวาจา วาจาชอบ 4. สัมมากัมมัมตะ กระทำชอบ 5. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ศีลสิกขา ( พาจิตสะอาด) การไม่ทำชั่วทั้งปวง 6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ 7. สัมมาสติ ระลึกชอบ 8. สัมมาสมาธิ จิตมั่นชอบ จิตตสิกขา พาจิตสงบ การทำแต่ความดี

27 กิจกรรมการเรียนการสอน
๑. ขั้นทบทวน ๒. ขั้นให้นิยาม ๓. ขั้นให้ตัวอย่างที่ดี ๔. ขั้นให้ตัวอย่างประกอบคำอธิบาย ๕. ขั้นให้ตัวอย่างประกอบคำถาม

28 มาตรฐานสาระการเรียนรู้กับไตรสิกขา
มาตรฐาน ส๑.๑ ปัญญา Knowledge มาตรฐาน ส๑.๒ สมาธิ Attitude มาตรฐาน ส๑.๓ ศีล Process


ดาวน์โหลด ppt โอวาท๓ / ไตรสิกขา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google