นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข Healthy Thailand นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2558 Millennium Development Goals (MDGs) 1. กำจัดความยากจนและความหิวโหยให้หมดไป 2. ไปถึงเป้ากมายการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับเด็กสากล 3. ส่งเสริมความเท่าเทียมของเพศชายและหญิง และบทบาทสตรี 4. ลดการตายของเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี 5. ลดอัตราการตายของมารดา จากภาวะคลอดและหลังคลอด 6. ลดอัตราการติดเชื้อ เอดส์ มาลาเรีย และโรคสำคัญอื่นๆ 7. พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 8. สร้างความมีส่วนร่วม เพื่อไปสู่จุดหมายร่วมกัน

Healthy Thailand สุขภาพดีต้องมีแนวคิดใหม่และแนวร่วมใหญ่ แนวร่วใหญ่ ผลผลิตใหม่ กระแสใหม่และใหญ่

ผลผลิตทางสุขภาพ(Outcome)ใหม่ ปรากฏการณ์ทางสุขภาพใหม่ การจัดระเบียบสุขภาพใหม่ ปริมาณ ทางสุขภาพ คุณภาพ ทางสุขภาพ

ประเทศไทย ปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไป ปัญหาเดิม - วางแผนครอบครัว แม่และเด็ก โภชนาการ สุขาภิบาล โรคติดต่อ ปัญหาใหม่ - ปัญหาเดิมลดลง แต่ยังมีอยู่บางพื้นที่ บางเรื่อง - เพิ่มด้วยเรื่องของพฤติกรรม บุหรี่ เหล้า อุบัติเหตุ พร้อมด้วย มะเร็ง และโรคไม่ติดต่อ

แนวคิด + แนวร่วม ความพยายาม ปรากฏการณ์ แนวคิด + แนวร่วม ความพยายาม ปรากฏการณ์ New Health Phenomena 2545 – การออกกำลังกาย 23 พ.ย. 2545 – สนามหลวง – World Record = การจุดประกาย การขี่ประกาย สำคัญกว่าการจุดประกาย How to maintain Momentum การจัดระเบียบใหม่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตไทยๆ ปริมาณ - ความครอบคลุม คุณภาพ - สัดส่วนการมีส่วนร่วม

การพ่วงประกายยิ่งยากขึ้นไปอีก 2546 การออกกำลังกาย และอาหาร ประกาศ ปี 2547 = ปีอาหารปลอดภัย Health = A Complete State of Physical Mental and Social Well being 2548 5 อ. = ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ อโรคยา อนามัยสิ่งแวดล้อม

กรอบแนวคิดเมืองไทยสุขภาพดี(Healthy Thailand) ทุนสุขภาพ(ภูมิปัญญาพื้นบ้าน) การเคลื่อนไหวทางสังคม(Social Movement) ความร่วมมือระหว่างรัฐ/ท้องถิ่น เอกชน/ประชาชน ในพื้นที่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่เอื้อต่อการควบคุมโรคไม่ติดต่อ การสร้างหุ้นส่วนสุขภาพและการมีส่วนร่วม (Partnership and Participation) การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย มาตรการทางกฎหมาย/สังคม การสร้างนโยบายสาธารณ(HPP)แบบมีส่วนร่วม การควบคุมโรคไม่ติดต่อ การสร้างเครือข่ายในพื้นที่(Network Area) ภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ การสร้างกลุ่ม/ชมรมสุขภาพ ชุมชน/เมือง (Means เชิงพฤติกรรม) ผลลัพธ์(Output) (Input เชิงกิจกรรม) ยุทธศาสตร์และนโยบายกรม/กระทรวง/จังหวัด การปฏิรูประบบสุขภาพ การประสานงานภาคีสุขภาพ รูปแบบการพัฒนาระบบ สุขภาพในชุมชน การสร้างกระบวนการทางสังคมเพื่อสุขภาพ การสรุปบทเรียนทางสุขภาพเชิงนโยบาย ความร่วมมือทางสังคม การคุ้มครองผู้บริโภค

Healthy Thailand จากประสบการณ์ของ Health for All และ Healthy Cities ตัวชี้วัด - ไม่มากไปและทำได้ง่าย ความร่วมมือ - อย่าหลายสาขา แนวปฏิบัติ - รากหญ้าเริ่มต้น

Healthy Thailand Concept จากวิถีชุมชน เริ่มต้นกระแสใหญ่ ใส่ ความพยายาม ใหม่ ให้ชุมชนสร้างกระบวนการ ประสานแนวร่วมให้ดี มีเป้าหมายที่ปรับได้และชัดเจน เน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน นพ.วัลลภ ไทยเหนือ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 21 เมษายน 2547

เมืองไทยสุขภาพดี Healthy Thailand ม.ค. - ธ.ค. 2547 เป้าหมาย ตัวชี้วัดหมู่บ้าน/ตำบล ความสำเร็จ > 80% ตัวชี้วัดอำเภอ/จังหวัด ความสำเร็จ > 80% ทางสู่เมืองไทย สุขภาพดี ออกกำลังกาย 1. ประชากรอายุ > 6ปี ออกกำลังกายตามวัย > 50% หมู่บ้าน สุขภาพดี อาหาร 2. อาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิด > 90% (สุ่มตรวจ สารเร่งเนื้อแดงระดับจังหวัด ) 3. ตลาดสดผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐานตลาดสดน่าซื้อ > 80% 1. ร้านอาหาร/แผงลอย มีมาตรฐาน ตาม เกณฑ์ Clean Food Good Taste > 30% 2. ตลาดสดน่าซื้อ อย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง 3. > 50% ของ โรงงานอาหารผ่านเกณฑ์ GMP 75 % หมู่บ้าน ตำบล สุขภาพดี 4. > 50% วัยรุ่นเป็นสมาชิกชมรม To be No. 1 และ มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 5. >50% ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุและมีกิจกรรมทุกเดือน อารมณ์ 50 % ตำบล อำเภอ สุขภาพดี อโรคยา 6. ไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 คน/แสนประชากร 7. ประชากร อายุ > 40 ปี ตรวจปัสสาวะและ วัดความดันโลหิต ทุกปี > 80% ( กลุ่มเสี่ยงตรวจน้ำตาลในเลือดทุกปี) 8. สตรี อายุ > 35 ปี มีความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง อย่างถูกต้อง >80% 50 % อำเภอ จังหวัด สุขภาพดี อนามัย สิ่งแวดล้อม 9. > 80% ของเด็กอายุ < 6ปี มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย ระดับตำบลมีศูนย์เด็กเล็กเข้ากระบวนการ ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ อย่างน้อย 1 แห่ง 10.โรงเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ > 50% 4. ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ > 30% 5. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ > 30% 6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอย่างน้อย อำเภอละ1 แห่งหรือในระดับจังหวัด > 50% เมืองไทยสุขภาพดี Healthy Thailand 2558 (MDGs 2015) ประเมินผล 1ต.ค. – 15 พ.ย. 2547 โดยสำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักตรวจและประเมินผลและศูนย์วิชาการเขต