การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนากระบวนการผลิต การตลาด และการบริหารจัดการสินค้าเกษตรเชิงคุณภาพ การวิจัยและพัฒนา (R&D) พัฒนาปัจจัยพื้นฐานและพัฒนาเกษตรกร การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดต้นทุน การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาระบบการตลาด การขนส่งสินค้าและจัดการบริหารสินค้า (Logistics) การวิจัยและ พัฒนาพันธุ์ ข้าวที่ดี ทน ต่อโรคและ เหมาะสมกับ พื้นที่ การจัดทำ ข้อมูลต้นทุน การผลิต การวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเพิ่ม ผลผลิต การวิเคราะห์ ความต้องการ ของตลาดและ แนวโน้ม สถานการณ์ ข้าวทั้งในและ ต่างประเทศ วิจัยและ พัฒนาระบบ มาตรฐานการ ปลูกข้าวที่ เทียบเท่า มาตรฐาน GAP การบริหาร จัดการน้ำเพื่อ การเพาะปลูก การบริหาร จัดการการใช้ ที่ดิน (Zoning) การจัดหาและ กระจายกล้า พันธุ์ดีให้ เกษตรกร การเตรียม พื้นที่ เพาะปลูกและ การปรับปรุง คุณภาพดิน การรวมกลุ่ม เกษตรกรและ สร้าง เครือข่าย การสร้างองค์ ความรู้และขีด ความสามารถ ให้เกษตรกร มีเครือข่าย สถาบัน การเงิน/ กองทุนเพื่อ ช่วยเหลือด้าน การเงินให้ เกษตรกร ส่งเสริมระบบ การผลิตที่ดี และเหมาะสม (GAP) การใส่ปุ๋ย การใช้ สารเคมี และ การกำจัด ศัตรูพืช เกษตรกรมี แผนการผลิต และแผนการ เก็บเกี่ยวที่ เหมาะสม (Crop Planning) การใช้ เทคโนโลยีที่ ทันสมัยและ เหมาะสมกับ การผลิตข้าว ปลอดภัยทั้ง กระบวนการ การส่งเสริม มาตรฐานการ ผลิตเกษตร อุตสาหกรรม (GMP) สนับสนุนให้ นำระบบ เกษตรวัสดุ เหลือใช้ (Zero Waste) มา ปฏิบัติ ส่งเสริมการ แปรรูปเพื่อ สร้าง มูลค่าเพิ่ม มีโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อ รองรับการ แปรรูปที่ เพียงพอและ ได้มาตรฐาน (เช่น เครื่องอบลด ความชื้น เครื่องบรรจุ หีบห่อ) มีระบบการ ขนส่งและ กระจายสินค้า ที่ปลอดภัย และมี มาตรฐาน เพิ่ม ประสิทธิภาพ และลดต้นทุน การขนส่ง พัฒนาตลาด กลางและศูนย์ จำหน่าย สินค้า พัฒนาตลาด ซื้อขาย ล่วงหน้า (Future Market) สร้าง เครือข่าย ความร่วมมือ ในการ ส่งเสริมการ คลาด มีการ ประชาสัมพัน ธ์และการ ส่งเสริมการ ขายที่ เหมาะสม
ห่วงโซ่คุณค่า (VC) และปัจจัยความสำเร็จ (CSFs) การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ห่วงโซ่คุณค่า (VC) และปัจจัยความสำเร็จ (CSFs) ตัวชี้วัด (KPI) รายการสถิติทางการ มี/ไม่มีฐานข้อมูล วิธีการรวบรวมข้อมูล ความถี่ของข้อมูล หน่วยงานรับผิดชอบ VC 3. การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน CSF 3.1 ส่งเสริมระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม GAP : Good Agricultural Practice KPI 3.1.1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐาน GAP Data 3.1.1.1 จำนวนเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐาน GAP มี ทะเบียน รายปี ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวพิษณุโลก VC 4. การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม CSF 4.1 การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตเกษตรอุตสาหกรรม (GMP:Good Manufacturing Practice) KPI 4.1.1 ร้อยละของสถานประกอบการ(ข้าว)ที่ผ่านมาตรฐาน GMP Data 4.1.1.1 จำนวนสถานประกอบการ(ข้าว) ที่ผ่านมาตรฐาน GMP สนง.การค้าภายในจังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ สรุปประเด็นที่สำคัญต่อยุทธศาสตร์ จะเห็นได้จากในปี 2557 ผลผลิตข้าวที่ผ่านมาตรฐาน GAP จำนวน 1,580 ไร่ จากการผลิตข้าวทั้งจังหวัดที่ไม่ผ่านมาตรฐาน GAP จำนวน 2,572,237 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.06 ดังนั้น จังหวัดพิษณุโลกควรส่งเสริมสนับสนุนการผลิตข้าวให้ผ่านมาตรฐาน GAP มากยิ่งขึ้น
การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จะเห็นได้ว่า ด้านการแปรรูปข้าวที่ผ่านมาตรฐาน GMP จำนวน 1 แห่ง คือ บริษัทโรงสีเจริญพาณิชย์ จำกัด คิดเป็นร้อยละ 2 จากจำนวนโรงสีทั้งหมด 41 แห่ง
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการที่สำคัญ (Flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ 1.ส่งเสริมสนับสนุนการผลิตข้าวให้ผ่านมาตรฐาน GAP โครงการส่งเสริมสนับสนุนการผลิตข้าวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพมาตรฐานปลอดภัย 2.ส่งเสริมการแปรรูปข้าวให้ผ่านมาตรฐาน GMP โครงการส่งเสริมการแปรรูปข้าวให้ผ่านมาตรฐาน GMP
เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) โครงการส่งเสริมสนับสนุนการผลิตข้าวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพมาตรฐานปลอดภัย วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวให้ได้มาตรฐานปลอดภัย (GAP) กิจกรรมและแนวทางโครงการ ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีการผลิตข้าวให้ได้มาตรฐานปลอดภัย (GAP)
เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) โครงการส่งเสริมการแปรรูปข้าวให้ผ่านมาตรฐาน GMP วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย เพื่อส่งเสริมการแปรรูปข้าวให้ผ่านมาตรฐาน GMP กิจกรรมและแนวทางโครงการ ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีการการแปรรูปข้าวให้ผ่านมาตรฐาน GMP