หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
In the Classroom Manoonsak Glinhom.
Advertisements

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
ข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล ( Data) - ข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สังเกตุ หรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ ของโลกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์ นั้น สารสนเทศ.
แผนยุทธศาสตร์ กรมคุมประพฤติ พ.ศ วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรชั้นนำในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดแบบบูรณาการ เพื่อความสงบสุขของชุมชน อย่างยั่งยืน.
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
ระบบยื่นชำระภาษีออนไลน์ (น้ำมัน โรงแรม ยาสูบ). ประเภทรายได้ภาษีท้องถิ่นจัดเก็บเอง ประเภท รายได้ อบจ. เทศ บาล อบต. เมือง พัทยา กทม. 1.1 ภาษี โรงเรือนที่ดิน.
เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา 18 ธันวาคม 2558 นโยบายในการยื่นคำขอขึ้นทะเบียนตำรับยาโดยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
Microsoft® Office SharePoint® Server 2007 การฝึกอบรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ
แนวทางปฏิบัติ การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549
การค้นหาเส้นทางและพิกัดตำแหน่งบ้านผู้ป่วย
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว1 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Information Technology in Agriculture ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัย Keep it secure
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
ระเบียบวาระการประชุม
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
การเป็นศูนย์กลางข้อมูลแรงงานระดับจังหวัด Provincial Data
ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
คู่มือการใช้งาน Expense ผ่าน Mobile/Tablet (Android) สำหรับผู้ใช้งานทั่วไป / ผู้อนุมัติ 01 มีนาคม 2560 ส่วน สนับสนุนธุรกิจ ฝ่าย Busitness IT.
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 6.1 : การพัฒนาประสิทธิภาพระบบเว็บไซต์
วิชา ศาสนศึกษาขั้นแนะนำ
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว3 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
แรงเสียดทาน ( Friction Force ).
คะแนนประเมินตามระบบ SEPA
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
การบังคับชำระหนี้ Subtitle NOTE:
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร
สิ่งที่ควรและไม่ควรปฏิบัติในงานบริการ (DO & DON’T IN CUSTOMER SERVICE)
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
การบริหารบุคลากรด้านการเงิน และทรัพยากรในภาครัฐ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การประชุมกลุ่ม เรื่องการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 5. องค์ประกอบในการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 6. ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 7. จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 8. การปรับปรุงผลงาน

จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ ข้าราชการ 21 คน พนักงานมหาวิทยาลัย 360 คน พนักงานราชการ ลูกจ้าง รวมทั้งสิ้น 381 คน มีคุณสมบัติขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น 155 คน (40.68%) คุณสมบัติยังไม่ครบ 226 คน (59.32%)

จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ จำแนกตามหน่วยงาน กก. 11 / 35 กค. 20 / 32 กบ. 9 / 22กพ. 18 / 20 กผ. 6 / 22 กบน. 10 / 22 กบส. 8 / 21 กบว. 6 / 23 สคศ. 5 / 6ตสน. 3 / 5 สวท. 9 / 23 สวส. 21 / 48 สวพ. 6 / 10 คอ. 2 / 13 ทอ. 4 / 12 บท. 5 / 25 วท. 4 / 11 วส. 4 / 17 ศศ. 4 / 13 รวมทั้งสิ้น 155 / 381 คน

จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน 1 คน ชำนาญงาน – ชำนาญงานพิเศษ 2 คน ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ 140 คน ชำนาญการ – ชำนาญการพิเศษ 12 คน ชำนาญการพิเศษ – เชี่ยวชาญ - คน รวมทั้งสิ้น 155 คน

ความก้าวหน้าของบุคลากรใน มหาวิทยาลัย เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คุณภาพของ มหาวิทยาลัยเพิ่มมากขึ้น

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง ปีงบประมาณ 2560 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่ได้รับการ พัฒนาด้านวิชาการ/ ภาษา / IT /เทคโนโลยีสนับสนุนการ จัดการเรียนการสอน (ร้อยละ 60) ใน 1 ปี สายวิชาการ ต้องอบรม ภาษาอังกฤษ 30 ชม. วิชาชีพ 40 ช.ม. สายสนับสนุน ภาษาอังกฤษ 20 ชม. วิชาชีพ 30 ช.ม. ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่มี ความก้าวหน้าในอาชีพ (ร้อยละ 15)

เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน สายวิชาชีพ - ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน – ชำนาญ งานพิเศษ (3,500) - ประเภทวิชาชีพเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ (3,500) – ชำนาญการพิเศษ (5,600) – เชี่ยวชาญ (9,900) – เชี่ยวชาญพิเศษ (13,000) - ประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ– ชำนาญการ พิเศษ (3,500) – เชี่ยวชาญ (9,900) – เชี่ยวชาญพิเศษ (13,000)

เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน สายบริหาร - หัวหน้างาน ชำนาญการ – ชำนาญการพิเศษ – เชี่ยวชาญ หัวหน้าสำนักงานคณบดี / ผู้อำนวยการกอง - ชำนาญการ 7 ปี / ชำนาญการพิเศษ 3 ปี และ - หน.งาน มากกว่า 1 งาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี / หน.งาน 1 งาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี + รก.หน.งานอื่น รวมกันไม่น้อยกว่า 1 ปี และ - ผ่านการอบรมและมีเงินเดือนตามเกณฑ์

เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน สายบริหาร - ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี - ผอ.กอง ไม่น้อยกว่า 1 ปี / ปฏิบัติหน้าที่ ผอ.กอง + ชำนาญการพิเศษ รวมกันไม่น้อยกว่า 4 ปี / ชำนาญ การพิเศษ >4 ปี / เชี่ยวชาญ และ - ผอ. มากกว่า 1 หน่วยงาน 1 ปี และ - ผ่านการอบรมและมีเงินเดือนตามเกณฑ์

องค์ประกอบของ คณะกรรมการประเมินค่างาน รองอธิการบดี ประธาน ผู้เชี่ยวชาญในงาน 2 คน กรรมการ ผู้บังคับบัญชาโดยตรง กรรมการ ผอ.กบ. กรรมการและเลขานุการ กำลังประเมินค่างาน 74 / 155

ขั้นตอนการประเมินค่างาน 1. บุคลากรนำเสนองานที่จะให้ประเมิน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินค่างาน 3. นำเสนอ กบม. เพื่อให้ความเห็นชอบ 4. นำเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ 5. ประกาศรับสมัคร (ดูปฎิทินกำหนดขั้นตอนการประเมินค่างาน)

เกณฑ์ในการประเมินค่างาน ปกติ ชำนาญงาน/การ ชำนาญงาน/การพิเศษ หน.งาน ชำนาญการ - เชี่ยวชาญ (ถ้าสูงกว่านี้ ไม่ใช่เกณฑ์นี้) หน้าที่และความรับผิดชอบ ความยุ่งยากของงาน การกำกับตรวจสอบ การตัดสินใจ ถ้าประเมินในตำแหน่ง หน.งาน + การบริหารจัดการ ปกติ ชำนาญงาน/การ 64 – 83 ชำนาญงาน/การพิเศษ 84 หน.งาน ชำนาญการ 60 – 69 ชำนาญการพิเศษ 70-79 เชี่ยวชาญ > 80

ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรง ตำแหน่งสูงขึ้น ต้องเป็นตำแหน่งที่ได้ประเมินค่างานแล้ว โดยการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ในตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ต้องประเมินตามองค์ประกอบต่อไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ 2. ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งที่จะประเมิน 3. ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ 4. จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 5. การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุน งานบริการ วิชาการหรือวิชาชีพบริการต่อสังคม (เฉพาะเชี่ยวชาญและเชี่ยวชาญพิเศษ)

องค์ประกอบของ คณะกรรมการ - คณะกรรมการประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น รองอธิการบดี ประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก 4 คน กรรมการ ผอ.กบ. เลขานุการ

องค์ประกอบในการแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น รายการประเมิน เกณฑ์ผ่าน ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 2. ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งที่จะประเมิน 3. ผลงาน วิธีปกติ = ดี วิธีพิเศษ = ดีมาก วิธีปกติ = มีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง วิธีพิเศษ = มีคุณสมบัติแตกต่างจากมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ ได้แก่ 1. คู่มือปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 เล่ม และ 2. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรืองานวิจัยซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานในหน้าที่อย่างน้อย 1 เรื่อง ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการพิเศษ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของหน่วยงานอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย หรือผลงานลักษณะอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ

ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรือผลงานลักษณะอื่น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย ซึ่งได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรือผลงานลักษณะอื่น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย ซึ่งได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ

ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น โดยผลงาน 1) ต้องไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาและการฝึกอบรม 2) ไม่ใช่ผลงานเดิมที่เคยใช้ประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งมาแล้ว 3) กรณีที่เป็นผลงานร่วมต้องระบุการมีส่วนร่วมและมีคำรับรองจากผู้มีส่วนร่วม

จริยธรรมและจรรยาบรรณทาง วิชาชีพ 1. ความซื่อสัตย์ทางวิชาชีพ (ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตน ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น ไม่นำผลงานในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่มากกว่าหนึ่งฉบับ) หากนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตน ลอกเลียนผลงานผู้อื่น ให้ดำเนินการทางวินัย และห้ามเสนอขอตำแหน่งไม่น้อยกว่า 5 ปี ถ้าทราบภายหลังให้ถอดถอน 2. ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้ในผลงานของตนเองและแสดงหลักฐานของการค้นคว้า 3. ไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาชีพ จนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น 4. ผลงานต้องได้มาจากการศึกษาโดยใช้หลักวิชาชีพเป็นเกณฑ์

การปรับปรุงผลงาน ในกรณีที่คณะกรรมการมีมติให้ปรับปรุงผลงาน (ไม่ใช่ทำ/ส่งผลงานชิ้นใหม่) ต้องปรับปรุงให้เสร็จภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่ได้รับทราบมติ ยกเว้นกรณีมีเหตุผลความจำเป็นอาจขยายเวลาได้อีกไม่เกิน 3 เดือน วันที่แต่งตั้งต้องเป็นวันที่ได้รับผลงานฉบับสมบูรณ์ กรณีผลงานไม่อยู่ในเกณฑ์ สามารถขอให้ทบทวนได้ไม่เกิน 2 ครั้ง