งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (สอส) อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (สอส) โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทย แก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ

2 แผนสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ ปี 59 Promotion of Healthy Lifestyle Cluster สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ

3 พระราชดำรัส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “สร้างเด็กไทยให้เต็มศักยภาพด้วยอาหารและโภชนาการ”

4 3 กลุ่มวัย 4 Settings + โครงการตามแนว พระราชดำริ + การขับเคลื่อนนโยบาย ยุทธศาสตร์ และจุดเน้น

5 เพิ่มอัตราการบริโภคผักผลไม้ในประชาชน ไทย ลดอัตราชุกของภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนของเด็กวัยเรียน ควรมีอาหารเสริม สอนแม่ ลดเด็ก เตี้ยในอนาคต สวนผัก ใน ชุมชน เมือง ความ มั่นคง ทาง อาหาร ชุมชน เกษตร ปลอด ภัย ชุม ชน

6 80% อัตราชุกของ ภาวะน้ำหนักเกิน และโรคอ้วนใน เด็กวัยเรียน <10% >50% ของประชากรมี กิจกรรมทางกายที่ เพียงพอ ตัวชี้วัดตามทิศทาง 10 ปี สสส. ที่กลุ่ม แผนฯ เป็นเจ้าภาพ ของประชากรบริโภคผัก ผลไม้ เพียงพอตามข้อแนะนำ

7 แนวคิดการพัฒนาโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาทเจ้าฟ้านักโภชนาการ ศรร. 1 เหนือ 30อีสาน 44 กลาง 23ใต้ 25 ศรร. 2 เหนือ 30อีสาน 30 กลาง 30ใต้ 30 โรงเรียนในโครงการเด็กไทยแก้มใส ที่เตรียมพัฒนา เป็นศูนย์เรียนรู้ โรงเรียน ที่สนใจจะเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนอื่นๆ ที่สนใจนำองค์ความรู้ไปขยาย....ต่อๆไปอีก...จนเต็มพื้นที่ประเทศไทย

8 ลด หวาน มัน เค็ม โภชน าการ สมวัย โรงเรียน ปลอด น้ำอัดล ม เด็กไท ยดูดี มี พลานา มัย อาหาร ปลอด ภัย อย. น้อย เท่ห์กิน ผัก... น่ารัก กิน ผลไม้ บูรณาการสู่โครงการ

9 2. สหกรณ์นักเรียน -สหกรณ์ร้านค้า -ออมทรัพย์ 4.การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและสุขภาพนักเรียน - ฐานข้อมูล, แปลผล, ใช้ข้อมูลในการพัฒนางาน 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน -นิสัยการกิน -สุขนิสัยที่ดี -ออกกำลังกาย 1. เกษตรในโรงเรียน -ปลูกพืชผัก ผลไม้ เพาะเห็ด -เลี้ยงสัตว์, ประมง ฯลฯ 3. การจัดบริการอาหาร -ตามหลักโภชนาการ,ตามหลักสุขาภิบาล -อาหารปลอดภัย,ใช้เกลือไอโอดีน 6.การพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน -อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน -โรงอาหาร โรงครัว -ห้องน้ำ -ฯลฯ 7.จัดบริการสุขภาพ นักเรียน -ตรวจความสะอาดร่างกาย -ปฐมพยาบาล -หนอนพยาธิและ มาลาเรีย 8. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ - เกษตรผสมผสาน, สหกรณ์ -สุขบัญญัติ, โภชนบัญญัติ -สุขาภิบาลอาหาร, ออกกำลังกาย ขยายผลสู่ชุมชน ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส เน้นบูรณาการกิจกรรมที่ 1 – 4, 8

10 1)ผู้บริหารโรงเรียนประกาศนโยบาย ภารกิจ และตัวชี้วัด ในการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ในที่เปิดเผยแก่คณะครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ทราบโดยทั่วกัน 2)โรงเรียนมีการพัฒนาต่อยอด การดำเนินกิจกรรมใน 8 องค์ประกอบตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี 3)มีคณะทำงานและการดำเนินงานที่ชัดเจนประกอบด้วยครูทุกกลุ่มสาระ ร่วมจัด กระบวนการร่วมจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ- สุขภาพ และจัดให้มีการพัฒนาทักษะชีวิต ทั้งใน และนอกห้องเรียน โดยการมีส่วนร่วม จากผู้ปกครองและบุคลากรในชุมชน 4)มีระบบการตรวจสอบ คัดกรอง ด้านคุณภาพของอาหารหลัก ขนม นมโรงเรียน และ เครื่องดื่มที่ให้บริการในโรงเรียน และบริเวณโรงเรียน 5)มีการจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ ควบคู่ กับการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย และการลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง 6)ผู้รับผิดชอบอาหารกลางวัน เข้ารับการอบรม และสามารถใช้โปรแกรม Thai School Lunch เพื่อจัดอาหารกลางวันให้เป็นไปตามข้อแนะนำได้ 7)ส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองจัดทำกิจกรรม เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน และนำไป ประยุกต์ใช้ในครอบครัว 8)เปิดโอกาสให้โรงเรียนอื่นๆ หรือบุคคลในชุมชนที่สนใจ เข้าศึกษาดูงานและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ 9)โรงเรียนมี Commitment กับชุมชนที่จะร่วมลงทุนเพื่อให้เกิดความยั่งยืน กิจกรรมพัฒนา 8 องค์ประกอบ ตัวชี้วัด 1. เกษตรในโรงเรียน 1. มีผลผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชน และเครือข่ายในพื้นที่ 2. มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมงไปใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวัน 2. สหกรณ์นักเรียน 1. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรใน โรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน 3. จัดบริการอาหาร 1. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ (ใช้ Thai School Lunch Program) 2. ปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ 4. ร้านจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ 4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และ สมรรถภาพทางกายนักเรียน 1. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง 5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัย นักเรียน 1. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ 2. มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร 6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 1. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน 7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน 1. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 2. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรง จนถึงเสียชีวิต 8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย 1. มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส 2. มีกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ตัวชี้วัด 1.นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี  ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 7 %  ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 7 %  ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน 7 % ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ (กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี) 2.นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย 2.1 ผักวันละ ประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม) และมัธยม 5 ช้อน (90 กรัม)) 2.2 ผลไม้ (อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน 3. ระดับความสำเร็จของ โรงเรียน ชุมชน ในการพัฒนาด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ผลลัพธ์ที่คาดหวังของโครงการ (Outcome) 1.เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง 2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางใน การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 3.พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วย สร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการ ดำเนินงาน 4.ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน แนวการดำเนินงานและตัวชี้วัดศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส (ศรร.) แนวทางการดำเนินงาน

11 หลักคิดของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สุขภาวะ เด็ก เจริญเติบโตสมวัย : นน./ส่วนสูง อ้วน ผอม ตัวชี้วัด ภาวะอ้วน ผอม เตี้ย (อย่างละ) ไม่เกิน ร้อยละ 7 การจัดการ อาหารเด็ก ตัวชี้วัด สถานการณ์กินอาหาร/ออกกำลังกาย ที่บ้านและโรงเรียน โรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส ศรร ตัวชี้วัด จัดอาหารกลางวันให้เด็กกินผัก-ผลไม้ตามสัดส่วนมาตรฐาน วัด 3 กลุ่มคือ เด็ก ผู้ปกครอง และ ชุมชน ผู้ปกครองจัดอาหารให้เด็กกินผักที่บ้าน กิจกรรมหลัก 8 องค์ประกอบ 1. เกษตรในโรงเรียน 2. สหกรณ์นักเรียน 3. จัดบริการอาหาร 4. ติดตามภาวะโภชนาการ 5.พัฒนาสุขนิสัย ส่งเสริมสุขภาพ 6.พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 7.จัดบริการสุขภาพเด็กนักเรียน 8.จัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ ความรู้ / นวัตกรรม / รูปแบบ  ความมั่นคงทางอาหาร  อาหารปลอดภัย  โภชนาการสมวัย การทำงานร่วมกับชุมชนและผู้ปกครอง

12 การประเมินพฤติกรรม การกินและออกกำลังกาย จำนวนนักเรียนจำนวนข้อมูล (สุ่มตามหลัก สถิติ) ช่วงระยะเวลาเก็บข้อมูล เริ่มโครงการ ระหว่าง โครงการ ปิดโครงการ ไม่เกิน 120 คนร้อยละ 100 6-10 มิย. 2559 5-9 กย. 2559 6-10 กพ. 2560 >120-999 คนร้อยละ 30 1,000-9,999 คนร้อยละ 25

13 1.มีผลผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของ นักเรียน ชุมชน และ เครือข่ายในพื้นที่ 2. มีการนำผลผลิตทางการ เกษตร ปศุสัตว์ และ ประมงไปใช้ในกิจกรรม อาหารกลางวัน มีกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนที่มีนักเรียนเป็น สมาชิก และดำเนินการ โดยนักเรียน และรับซื้อ ผลผลิตจากกิจกรรม เกษตรในโรงเรียนเพื่อ ขายให้กิจกรรมอาหาร กลางวัน 1. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐาน โภชนาการ (ใช้ TSL) 2. ปรุง ประกอบอาหารถูกหลัก โภชนาการ สุขาภิบาล และ อาหารปลอดภัย 3. นักเรียนได้รับประทานอาหาร ตามปริมาณและสัดส่วนของ มาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ 4. ร้านจำหน่ายอาหารว่างและ เครื่องดื่มได้มาตรฐาน โภชนาการ มีรายงานเฝ้าระวังการ เจริญเติบโตและ สมรรถภาพทางกาย ของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง 1.มีการบันทึกสุขภาพ นักเรียนรายบุคคลและ แบบประเมินพฤติกรรมสุข บัญญัติแห่งชาติ 2. มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อน กลาง ล้างมือ ในช่วงเวลา การรับประทานอาหาร โรงเรียนผ่านเกณฑ์ มาตรฐานสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน และมาตรฐานคุณภาพ น้ำบริโภคในโรงเรียน 1. นักเรียนได้รับการตรวจ สุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแล ช่วยเหลือเบื้องต้นอย่าง เหมาะสม 2. มีระบบการช่วยเหลือการ เจ็บป่วยเบื้องต้นอย่าง เหมาะสม เพื่อป้องกัน อันตรายร้ายแรง จนถึง เสียชีวิต 1. มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการและกิจกรรมที่ สอดคล้องกับโครงการเด็กไทย แก้มใส 2. มีกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญา ท้องถิ่น 3. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการ เรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย Smart Learning Center เกษตรใน โรงเรียน สหกรณ์ นักเรียน การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย การจัดบริการ สุขภาพนักเรียน การพัฒนา อนามัย สิ่งแวดล้อมใน โรงเรียน การพัฒนาสุขนิสัยและการ ส่งเสริมสุขภาพอนามัย นักเรียน จัดบริการ อาหาร การเฝ้าระวังและ ติดตามภาวะ โภชนาการ และ สมรรถภาพทางกาย นักเรียน 16 ตัวชี้วัดย่อย

14 1.เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มี อารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง 2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน ลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและ พัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 3.พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็ก นักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็ง ให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 4.ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน ผลที่คาดหวังของโครงการ (Outcome)

15 ตัวชี้วัด 1.นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี  ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 7 %  ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 7 %  ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน 7 % ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ (กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี) 2.นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย 2.1 ผักวันละ ประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม) และมัธยม 5 ช้อน (90 กรัม)) 2.2 ผลไม้ (อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน 3.ระดับความสำเร็จของ โรงเรียน ชุมชน ในการพัฒนาด้านการจัดการ อาหาร โภชนาการ สุขภาพ ดูน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง

16 เส้นทางการพัฒนาสู่ Learning Center “ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส” เพื่อเฉลิมพระเกียรติเจ้าฟ้านักโภชนาการ โรงเรียน เด็กไทยแก้ม ใส 544 แห่ง ปรับแก้ไข โครงการ คัดเลือกตาม คุณสมบัติ ที่ คกก.กำหนด ส่ง Proposal ผ่านการ อบรม 2 หลักสูตร  ระบบติดตามและ ประเมินผลแบบ Online สสส. ร่วมกับ มอ. (2-3 วัน)  Thai School Lunch + เฝ้าระวังโภชนาการ สสส. ร่วมกับ ม.มหิดล (3 วัน) ปีที่ 1 (2557-2558) 246 แห่ง ปีที่ 2 (2558-2559) 122 แห่ง รุ่นที่ 1 (ระยะดำเนินการถึง ธค.59) ผู้ทรงคุณวุฒิ ของ สสส. 8 องค์ประกอบพื้นฐาน /16 ตัวชี้วัดย่อย เงื่อนไข 9 ข้อ ตัวชี้วัด 3 KPI ธค.59 นิเทศติดตามโดยทีมพี่เลี้ยง ศอ.1-13 และทีม ประสานงานกลางจาก สสส. คัดเลือกเป็น Learning Center เผยแพร่สู่สาธารณะและรายงานผลงานต่อสำนักงาน เลขาธิการครม.ตามโครงการเฉลิมพระเกียรติฯ ผ่านเกณฑ์ประเมินตนเอง ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป คณะกรรมการคัดเลือกจาก ศอ.1-13,กทม,สพฐ, สำนักโภชนาการ,อปท. ส่งใบสมัคร ตาม คุณสมบัติ สพป.ใช้งบ ราชการของ สพฐ. จากงบ 9 ล้าน Support พี่เลี้ยง ศอ.+สสจ. ผ่าน คณะกรรมการ กลั่นกรองทาง วิชาการ ศอ.1-13 กทม. สพฐ.กรม อนามัย รับสมัครรุ่น 2 มิย.59 - ธค.60 มค.59กพ.59 มีค.-เมย.59 เมย.-พค.59 มิย.-พย.59 กพ.59 20 แห่งเป็นรร. นอกโครงการแก้มใสแต่สนใจ มี 3 รร. ที่ผอ. ย้ายมา ขยายผลทั่ว ประเทศไทย ทำข้อตกลง / โอนเงิน โครงการรร. 2 พค.59 ถึง 30 เมย. 60 ทำข้อตกลง / โอนเงิน โครงการรร. 2 พค.59 ถึง 30 เมย. 60

17 ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กแก้มใสภาคเหนือ

18 สพฐ. 24 รร. อปท. 6 รร. ศอ.1-3 เชียงใหม่ / พิษณุโลก / นครสวรรค์ ศอ.1 18 รร. ศอ.1 18 รร. ศอ. 2 9 รร. ศอ. 3 3 รร. เล็ก (1-120 คน ) 3 รร. กลาง (121-300 คน ) 17 รร. ใหญ่ (300 คนขึ้นไป ) 10 รร. เล็ก 80,000 บาท กลาง 100,000 บาท ใหญ่ 120,000 บาท

19 ชื่อโรงเรียน จังหวัด ชื่อโรงเรียน จังหวัด โรงเรียนบ้านกาดฮาวเชียงใหม่ โรงเรียนชุมชนเทศบาลวัด ศรีดอนไชย เชียงใหม่ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่เชียงใหม่ โรงเรียนเทศบาล 8 บ้าน ใหม่ เชียงราย โรงเรียนบ้านม่วงชุมเชียงใหม่ โรงเรียนบ้านดู่ ( สหราษฎร์ พัฒนาคาร ) เชียงราย โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยนเชียงใหม่โรงเรียนบ้านหนองบัวแดงเชียงราย โรงเรียนบ้านสะลวงนอกเชียงใหม่โรงเรียนบ้านทุ่งหลวงเชียงราย รายชื่อโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

20 ชื่อโรงเรียน จังหวัด ชื่อโรงเรียน จังหวัด โรงเรียนวัดต้นไคร้แพร่โรงเรียนบ้านไหล่หินลำปาง โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์แม่ฮ่องสอนโรงเรียนทองทิพย์วิทยาลำปาง โรงเรียนดรุณวิทยา เทศบาล บ้านสวนตาล น่านโรงเรียนบ้านหลวงเหนือลำปาง โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้วน่านโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์เพชรบูรณ์ โรงเรียนสันโป่งวิทยาลำปางโรงเรียนบ้านวังประจบตาก รายชื่อโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

21 ชื่อโรงเรียน จังหวัด ชื่อโรงเรียน จังหวัด โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอน มูลชัย ตาก โรงเรียนเทศบาลวัด หนองผา อุตรดิตถ์ โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 ตาก โรงเรียนอนุบาลไทยรัฐ วิทยา 5 ( วัดตลิ่งต่ำ ) อุตรดิตถ์ โรงเรียนบ้านแม่ระเมิงตาก โรงเรียนบ้านโชคชัย พัฒนา กำแพงเพชร โรงเรียนบ้านสะเดาพิษณุโลกโรงเรียนวัดนากลางนครสวรรค์ โรงเรียนบ้านผาเวียงสุโขทัย โรงเรียนเทศบาลวัดธรรม โศภิต อุทัยธานี รายชื่อโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

22 สรุปความคิดเห็น จากผู้ทรงคุณวุฒิ ภาพรวม เพื่อเป็นแนวทางใน การปรับข้อเสนอ โครงการ การมีส่วนร่วมในการ ดำเนินกิจกรรมจาก โรงเรียนสู่ครอบครัว ชุมชน เพื่อความ ต่อเนื่องและยั่งยืน ให้ทบทวนเรื่องการใช้ จ่ายงบประมาณให้ เหมาะสม สมประโยชน์ และตรวจสอบได้ ลดกิจกรรมด้าน การเกษตรเพื่อสามารถ นำงบไปใช้ในกิจกรรม อื่นๆ เช่น การแก้ปัญหา นักเรียน อ้วน ผอม หรือ พัฒนาศักยภาพ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง กิจกรรมควรเป็นการ สร้างความตระหนัก หรือฝึกทักษะ มากกว่า จะเป็นการก่อสร้าง ต่างๆ กิจกรรมที่มีอยู่แล้วไม่ จำเป็นต้องของบแต่ให้ พิจารณาว่าโรงเรียน ขาดด้านใดให้เพิ่มด้าน นั้น เพิ่มกิจกรรมที่แสดงถึง การต่อยอดและเป็น เอกลักษณ์ของการเป็น ศูนย์เรียนรู้ โดย ส่งเสริมให้เกิด นวัตกรรมใหม่ๆ ของ โรงเรียน กิจกรรมควรบูรณาการ ให้การเชื่อมโยงกัน และควรระบุผลลัพธ์ ผลผลิต ของแต่ละ กิจกรรมให้ชัดเจน การติดตามประเมินผล ขอให้จัดทำให้เห็น อย่างเป็นรูปธรรม เพิ่มเติมส่วนของความ ต่อเนื่องและขยายผล ควรดำเนินการหรือมีวิธี อย่างเป็นรูปธรรม 1 2 6 5 4 3 7 8 9

23 ประชุมข้อตกลงการดำเนินงานก่อนเริ่มโครงการ & Workshop อบรมระบบติดตาม Online รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 1 ภาคกลาง : 27 - 28 มีนาคม 2559 กรุงเทพฯ รุ่นที่ 2 รุ่นที่ 2 ภาคเหนือ : 7 – 9 เมษายน 2559 เชียงใหม่ รุ่นที่ 3 รุ่นที่ 3 ภาคอีสาน : 19 – 21 เมษายน 2559 ขอนแก่น รุ่นที่ 4 รุ่นที่ 4 ภาคใต้ : 25 – 27 เมษายน 2559 สงขลา กลุ่มเป้าหมาย: โรงเรียนละ 2 คน 1. ผู้รับผิดชอบโครงการ 2. ผู้ดูแลระบบ IT หรือ ระบบติดตามประเมินผลของโครงการ 26 มีค. ประชุมพี่เลี้ยง 13 ศอ. ที่ กทม.

24 Workshop: Thai School Lunch การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ กลุ่มเป้าหมาย: โรงเรียนละ 2 คน 1. ครูโภชนาการ/ผู้ดูแลอาหารกลางวัน 2. ครูอนามัย วันที่อบรม ผู้เข้าอบรม 20 – 22 เมษายน 2559 27 – 29 เมษายน 2559 2 - 4 พฤษภาคม 2559 10 – 12 พฤษภาคม 2559 ภาคเหนือ 30 จังหวัด ภาคอีสาน 30 จังหวัด ภาคกลาง 23 + อีสาน 8 ภาคใต้ 25 + อีสาน 8 รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2 รุ่นที่ 3 รุ่นที่ 4 ให้เบิกค่าเดินทางจากผู้จัด สำหรับการนำรถ มาเอง เบิกได้ 1 โรงเรียน ต่อ 1 คันเท่านั้น

25 ช่วงแลกเปลี่ยน เรียนรู้


ดาวน์โหลด ppt อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google