งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61

2 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P)
ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีขอบเขต ดังนี้ การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงต่อการ เสียสุขภาพและศักยภาพที่เอื้ออำนวยต่อการ สร้างเสริมสุขภาพ (2) การสร้างเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การให้ คำปรึกษา แนะนำ การให้ความรู้ และการสาธิตเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน โรค (3) การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การใช้ยา และการ ทำหัตถการเพื่อสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค

3 เรื่องเดิม จากการประชุม อปสข. ครั้งที่ 6/2560 (1 พย. 2560) ได้อนุมัติ กรอบการจัดสรร PPA เขต 5 ปี 2561 PPA (4 บ./ปชก) เขต 5 = 20,974,680 บาท แก้ปัญหาระดับเขต/จังหวัด (3.50 บ./ปชก.) 18,352,845.00 PP ศูนย์วิชาการ/ รัฐนอก/องค์การเอกชน/ภาค ปชช. (0.50 บ./ปชก) = 2,621,835 ชดเชย ANC (0.25บ./ปชก.)=1,310,918 แก้ไขปัญหาระดับเขต (1 บ./ปชก) 5,243,670 แก้ไขปัญหาระดับจังหวัด (2.25 บ./ปชก.) 11,798,257.00 กรณีจัดสรรตามโครงการมีเงินเหลือ PP แก้ปัญหาระดับเขต/จังหวัด ( 3.25 บ./ชก.) 17,041,927

4 รวมทั้งสิ้น 7 โครงการ = 2,572,206 บาท
1. โครงการ PPA ของศูนย์วิชาการ/รัฐนอก/องค์การเอกชน/ภาค ปชช.วงเงิน= 1,634,206 บาท 2. โครงการแก้ปัญหาระดับเขต TEDA4I วงเงิน = 938,000 บาท รวมทั้งสิ้น 7 โครงการ = 2,572,206 บาท ประชุมชี้แจง 7 ธันวาคม 60 และประชุมพิจารณาโครงการเมื่อ 3 มกราคม 2561 ส่งมา รวม 6 โครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 1. โครงการการควบคุมและป้องกันภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก 6–12 เดือน ศูนย์อนามัยที่5ราชบุรี 160,200 2. โครงการสร้างเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการบริโภคขนมขบเคี้ยวและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้นใน พื้นที่ 8 จังหวัดภาคตะวันตก เขต 5 ราชบุรี สมาคมผู้บริโภคภาคตะวันตก 1,050,000 3. โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มประชาชนที่ขับขี่จักรยานยนต์รับจ้าง รพ.วิชัยเวช อินเตอร์เนชั่นแนล 156,000 4. โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคพระภิกษุ 20,160 5. โครงการบริการอนามัยในโรงเรียน รพ. เจษฎาเวชการ 175,846 6. โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 72,000 7. โครงการTEDA4I ศูนย์สุขภาพจิตที่ 5 938,000

5 รวมเงินจัดสรรทั้งสิ้น
3. การจัดสรรค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(PPA) เพื่อแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด ปี 2561 จังหวัด ประชากรไทย 1 เม.ย. 60 วงเงิน P&P ระดับจังหวัด (บาท) (วงเงินเดิม) วงเงินเพิ่มเติม 987,629บาท รวมเงินจัดสรรทั้งสิ้น (บาท) ราชบุรี 837,345 1,884,026.00 157,711 2,041,737.00 กาญจนบุรี 756,416 1,701,936.00 142,469 1,844,405.00 สุพรรณบุรี 791,794 1,781,536.00 149,132 1,930,668.00 นครปฐม 822,302 1,850,179.00 154,878 2,005,057.00 สมุทรสาคร 863,372 1,942,587.00 162,613 2,105,200.00 สมุทรสงคราม 177,749 399,935.00 33,478 433,413.00 เพชรบุรี 456,918 1,028,066.00 86,060 1,114,126.00 ประจวบคีรีขันธ์ 537,774 1,209,992.00 101,288 1,311,280.00 รวม 5,243,670 11,798,257.00 987,629 12,785,886.00

6 4. โครงการ PPA ของแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด
ชื่อโครงการ 23 โครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 1. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จังหวัดสุพรรณบุรี สสจ.สุพรรณบุรี 75,000.00 2. โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ จังหวัดสุพรรณบุรี 706,500.00 3. โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคในเรือนจำและประชากรกลุ่มเสี่ยง 825,000.00 4. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย (0-2 ปี ) 174,992.00 5. โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง อำเภอเดิมบางนางบวช 149,176.00 6. โครงการแก้ไขปัญหาโรคฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยจังหวัดนครปฐม สสจ.นครปฐม 371,179.00 7. โครงการส่งเสริมป้องกันฟันกรามแท้เด็กวัยเรียน (สสจ.นครปฐม) 279,000.00 8. โครงการเร่งรัดคัดกรองวัณโรคเชิงรุก จ.นครปฐม 1,200,000.00 9. โครงการรณรงค์ ฟันสะอาดเหงือกแข็งแรง นักเรียน ม.1-3 จ.นครปฐม 154,878.00 10. โครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในประชากรกลุ่มเสี่ยง จ.ราชบุรี สสจ.ราชบุรี 2,041,737.00

7 4. โครงการ PPA ของแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด (ต่อ)
ชื่อโครงการ 23 โครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 11. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และ โรคความดันโลหิตสูง อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร สสจ.สมุทรสาคร 900,000.00 12. โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในเรือนจำจังหวัดสมุทรสาคร ปีงบประมาณ 2561 530,200.00 13. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และ โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสมุทรสาคร 675,000.00 14. โครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในเรือนจำ จังหวัดสมุทรสงคราม สสจ.สมุทรสงคราม 112,500.00 15. โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มเสี่ยงสูง จังหวัดสมุทรสงคราม 118,750.00 16. โครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านการเจริญเติบโต ด้านพัฒนาการ จังหวัดสมุทรสงคราม 152,000.00 17. โครงการบริการคัดกรองปัจจัยเสี่ยงเพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดสมุทรสงครามปี 2561 50,163.00

8 4. โครงการ PPA ของแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด (ต่อ)
ชื่อโครงการ 23 โครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 18. โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการค้นหาวัณโรค จังหวัดเพชรบุรี ปี 2561 สสจ.เพชรบุรี 1,028,066.00 19. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกิน (รพ.พระจอมเกล้า) 86,060.00 20. โครงการ Home BP ลดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จังหวัดกาญจนบุรี ปี 2561 สสจ.กาญจนบุรี 142,469.00 21. โครงการเร่งรัดคัดกรองวัณโรคเชิงรุก จังหวัดกาญจนบุรี ปี 2561 1,701,936.00 22. โครงการคัดกรองวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง ค้นให้พบ จบด้วยหาย สสจ.ประจวบฯ 1,209,992.00 23. โครงการการป้องกันแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพ 101,288.00 รวม 23 โครงการ  รวม 12,785,886 บาท

9 5. เงินที่เหลือปรับเกลี่ยวงเงิน PPA61 เป็น PPB = 5,616,588บาท
เมื่อ >>> วันที่ 17 กรกฎาคม 2561 มติเห็นชอบจากที่ประชุม อปสข.เขต 5 ราชบุรี ครั้งที่ 3 /2561 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2561 ให้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐานให้กับหน่วยบริการประจำ(PPB) ตามจำนวนผู้ลงทะเบียนสิทธิ (ณ วันที่ 1 เมษายน 2560)

10 เสนอ อปสข. เพื่อทราบ 1. ผลการดำเนินงาน PPA ปี จำแนกตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม 3.33% 10.00% 13.34% 53.33% 20.00%

11 2. โครงการ ปี 2561 ทั้งหมดรวม 30 โครงการ
- ส่งสรุปโครงการ (รวมเบิก100%) จำนวน 9 โครงการ - ขอเบิกงวด 2 (เบิกจ่าย 90%) และขอขยายโครงการถึง 31 ธค. 61 จำนวน 7 โครงการ - ไม่สามารถเบิกงวด 2 และ3 (เบิกจ่าย 50%) และขอขยายโครงการ ถึง 31 ธค. 61 จำนวน 14 โครงการ

12 - ส่งสรุปโครงการ (เบิกจ่าย 100%) = 4 โครงการ
1) โครงการปี 2561 ศูนย์วิชาการ/รัฐนอก/องค์การเอกชน/ภาค ปชช. รวม 7 โครงการ - ส่งสรุปโครงการ (เบิกจ่าย 100%) = 4 โครงการ - ขอเบิกงวด 2 (เบิกจ่าย 90%) และขอขยายโครงการถึง 31 ธค. 61 = 2 โครงการ - ไม่สามารถเบิกงวด2 งวด3 และ ขอขยายโครงการถึง 31 ธค = 1 โครงการ - ส่งมา รวม 7 โครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 1. โครงการการควบคุมและป้องกันภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก 6–12 เดือน ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี (ขอขยาย) 160,200 2. โครงการสร้างเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการบริโภคขนมขบเคี้ยวและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้นในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคตะวันตก เขต 5 ราชบุรี สมาคมผู้บริโภคภาคตะวันตก 1,050,000 3. โครงการTEDA4I ศูนย์สุขภาพจิตที่5 (ไม่เบิกงวด2,3และขอขยาย) 938,000 4.โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มประชาชนที่ขับขี่จักรยานยนต์รับจ้าง รพ.วิชัยเวช (ส่งสรุป) 156,000 5.โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคพระภิกษุ 20,160 6.โครงการบริการอนามัยในโรงเรียน รพ. เจษฎาเวชการ (ส่งสรุป) 175,846 7.โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 72,000

13 2) โครงการปี 2561 ส่วนแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด รวม 23 โครงการ
- ส่งสรุปโครงการ จำนวน 5 โครงการ (รวมเบิกจ่าย 100%) - ขอเบิกงวด 2 (รวมเบิกจ่าย 90%) และขอขยายโครงการถึง 31 ธค. 61 จำนวน 5 โครงการ - ไม่สามารถเบิกงวด 2 และ3 (รวมเบิก 50%) และขอขยายโครงการ ถึง 31 ธค. 61 จำนวน 13 โครงการ

14 โครงการปี 2561 ส่วนแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด
ส่งสรุปโครงการ จำนวน 5 โครงการ ชื่อโครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 1. โครงการคัดกรองวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง ค้นให้พบ จบด้วยหาย สสจ.ประจวบฯ 1,209,992 2. โครงการ Home BP ลดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จังหวัดกาญจนบุรี สสจ.กาญจนบุรี 142,469 3. โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในเรือนจำจังหวัดสมุทรสาคร สสจ.สมุทรสาคร 530,200 4. โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการค้นหาวัณโรค จังหวัดเพชรบุรี ปี 2561 สสจ.เพชรบุรี 1,028,066 5. โครงการเร่งรัดคัดกรองวัณโรคเชิงรุก จังหวัดกาญจนบุรี ปี 2561 1,701,936

15 โครงการปี 2561 ส่วนแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด
ขอเบิกงวด 2 (เบิกจ่าย 90%) และขอขยายโครงการถึง 31 ธค. 61 จำนวน 5 โครงการ ชื่อโครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 1. โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคในเรือนจำและประชากรกลุ่มเสี่ยง สสจ.สุพรรณบุรี 825,000 2. โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง อำเภอเดิมบางนางบวช 149,176 3. โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ จังหวัดสุพรรณบุรี 706,500 4. โครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในประชากรกลุ่มเสี่ยง จ.ราชบุรี สสจ.ราชบุรี 2,041,737 5. โครงการเร่งรัดคัดกรองวัณโรคเชิงรุก จ.นครปฐม สสจ.นครปฐม 1,200,000

16 โครงการปี 2561ส่วนแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด
ไม่สามารถเบิกงวด 2 และ งวด3 (รวมเบิก50%) และขอขยายโครงการถึง 31 ธค. 61 จำนวน 13 โครงการ ชื่อโครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 1. โครงการแก้ไขปัญหาโรคฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยจังหวัดนครปฐม สสจ.นครปฐม 371,179 2. โครงการส่งเสริมป้องกันฟันกรามแท้เด็กวัยเรียน (สสจ.นครปฐม) 279,000 3. โครงการรณรงค์ ฟันสะอาดเหงือกแข็งแรง นักเรียน ม.1-3 จ.นครปฐม 154,878 4. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และ โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสมุทรสาคร สสจ.สมุทรสาคร 675,000 5. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง จังหวัดสุพรรณบุรี สสจ.สุพรรณบุรี 75,000

17 โครงการปี 2561ส่วนแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด
ไม่สามารถเบิกงวด 2 และ งวด3 (รวมเบิก50%) และขอขยายโครงการถึง 31 ธค. 61 จำนวน 13 โครงการ(ต่อ) ชื่อโครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 6. โครงการการป้องกันแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ในหญิงตั้งครรภโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพ สสจ.ประจวบฯ 101,288 7. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย (0-2 ปี ) สสจ.สุพรรณบุรี 174,992 8. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และ โรคความดันโลหิตสูง อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร สสจ.สมุทรสาคร 900,000 9. โครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในเรือนจำ จังหวัดสมุทรสงคราม สสจ.สมุทรสงคราม 112,500 10. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกิน (รพ.พระจอมเกล้า) สสจ.เพชรบุรี 86,060.00

18 โครงการปี 2561ส่วนแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด
ไม่สามารถเบิกงวด 2 และ งวด3 (รวมเบิก50%) และขอขยายโครงการถึง 31 ธค. 61 จำนวน 13 โครงการ(ต่อ) ชื่อโครงการ หน่วยงาน วงเงิน(บาท) 11. โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มเสี่ยงสูง จังหวัดสมุทรสงคราม สสจ.สมุทรสงคราม 118,750.00 12. โครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านการเจริญเติบโต ด้านพัฒนาการ จังหวัดสมุทรสงคราม 152,000.00 13. โครงการบริการคัดกรองปัจจัยเสี่ยงเพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดสมุทรสงครามปี 2561 50,163.00

19 สปสช.เขต 5 ราชบุรี กำหนดออกดำเนินการกำกับติดตามความก้าวหน้า การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ (PPA) ปี 2561 ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2561 – วันที่ 18 กรกฎาคม 2561 ลำดับ วัน เดือน ปี กลุ่มเป้าหมาย สถานที่จัดประชุม 1 15 มิย.61 สสจ.ราชบุรี 21 มิย.61 สสจ.เพชรบุรี 3 22 มิย.61 สสจ.สุพรรณบุรี 4 3 กค.61 สสจ.ประจวบฯ 5 5 กค.61 สสจ.สมุทรสาคร 6 6 กค.61 สสจ.สมุทรสงคราม และสมาคมผู้บริโภคภาคตะวันตก 7 16 กค.61 สสจ.กาญจนบุรี 8 18 กค.61 สสจ.นครปฐม

20 2. ผลการกำกับ ติดตาม และ ประเมินผลการดำเนินงาน (M&E ) ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 18 กรกฎาคม 2561
1) จากการนำเสนอผลการดำเนินงาน และการลงพื้นที่เพื่อรวบรวมข้อมูล พบว่า การดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี มีความก้าวหน้าในการดำเนินงานทุกโครงการ มีความเชื่อมโยงในการจัดบริการของหน่วยบริการทุกระดับในพื้นที่ โครงการส่วนใหญ่ดำเนินการได้แล้วเสร็จ แต่ยังขาดการบันทึกข้อมูล และสรุปผลงาน

21 2. ผลการกำกับ ติดตาม และ ประเมินผลการดำเนินงาน (M&E ) ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 18 กรกฎาคม 2561 (ต่อ) 2) ปัญหา อุปสรรค และข้อค้นพบ 1. การจัดสรรงบประมาณล่าช้า และมีการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมที่เหลือจากในส่วนของศูนย์วิชาการ/รัฐนอก/องค์การเอกชน/ภาค ปชช. ทำให้โครงการเริ่มดำเนินการได้ล่าช้าไม่เป็นไปตามกำหนด และบางจังหวัดต้องทำโครงการรองรับที่หน่วยงาน ทำให้งานล่าช้ามาก 2. ยังขาดความรู้ความเข้าใจการจัดทำโครงการ เช่น แบบฟอร์มไม่ถูก ชื่อโครงการไม่สื่อ ไม่มีหนังสือนำส่งทำให้ต้องแก้ไขเกิดการล่าช้า และโครงการมีการแก้ไขเกือบทั้งโครงการทำให้ขั้นตอนต่างๆ เกิดความล่าช้า 3. ผู้เขียนโครงการยังไม่เข้าใจ ในรายการหรือกิจกรรมตามเอกสารแนบท้ายของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง ประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2559 4. การเขียนงบประมาณ ไม่มีการจัดทำเป็นค่าบริการ (Unit Price) แต่ทำเป็น Activity base Cost

22 2. ผลการกำกับ ติดตาม และ ประเมินผลการดำเนินงาน (M&E ) ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 18 กรกฎาคม 2561 (ต่อ) 2) ปัญหา อุปสรรค และข้อค้นพบ (ต่อ) 5. ขาดความเข้าใจในเรื่องการส่งมอบผลงาน 6. ยังไม่มีการทำโครงการที่ครอบคลุมกลุ่มเปราะบางในกลุ่มพระสงฆ์ 7. โครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค และโครงการที่ดำเนินการในกลุ่มผู้ต้องขัง ยังไม่มีระบบความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ผู้เข้าไปดำเนินโครงการ ได้ฝากนำเรียนถึงผู้บริหารให้โปรดพิจารณา 8. โครงการส่วนใหญ่มีกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก รวมถึงมีความยาก-ง่ายที่แตกต่างกันทำให้ทำงานไม่ทันกำหนด ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ 9. ยังไม่มีการนำระบบ IT มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ส่งผลให้การบันทึกข้อมูลล่าช้า และส่งมอบผลงานไม่ทันตามกำหนด

23 2. ผลการกำกับ ติดตาม และ ประเมินผลการดำเนินงาน (M&E ) ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน – 18 กรกฎาคม 2561 (ต่อ) 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาในปี 2562 1. มีการจัดทำโครงการที่เป็นไปตามประเภทหรือขอบเขตของประกาศ ฉ.10 ฉ.11 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2559 2. ควรกำหนดการส่งมอบผลงานให้เป็นไปตามเงื่อนไขการจ่ายเงินให้ชัดเจน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ

24 ขอบคุณและสวัสดี


ดาวน์โหลด ppt รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google