งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คะแนนประเมินตามระบบ SEPA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คะแนนประเมินตามระบบ SEPA"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วาระที่ 3.6 ผลการประเมินรัฐวิสาหกิจ (SEPA) หมวด 4 และโอกาสในการปรับปรุงองค์กร (OFI)

2 คะแนนประเมินตามระบบ SEPA
ผลประเมิน ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556 คะแนนประเมินหมวด 1-6 295.25 283.25 266 คะแนนส่วนเพิ่ม 12.00 17.25 25.75 เกรด B+ (4.40) B+ (4.45) A (5.00) สำหรับคะแนนประเมินผลตามระบบ SEPA ในส่วนของหมวดกระบวนการ 1 – 6 (คะแนนเต็ม 600 คะแนน) กปน. ได้รับคะแนนแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่ลดลง โดยเริ่มจากคะแนน Baseline ในปี 2555 ที่คะแนน คะแนน ปี 2556 เพิ่มขึ้น คะแนนมาเป็น 266 และปี 2557 เพิ่มขึ้นเพียง คะแนนมาเป็น ตามลำดับ

3 สรุปผลการประเมินระบบ SEPA กปน.
283.25 295.25

4 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
แนวทางการให้คะแนน มิติกระบวนการ (หมวด 1-6) จะมีทั้งหมด 6 Band โดยรัฐวิสาหกิจกลุ่ม BA รวมถึง กปน. คะแนนในภาพรวมจะอยู่ใน Band % หรืออยู่ในช่วงคะแนน 151 – 270 คะแนน สำหรับปี 2557 ที่ผ่านมา กปน. เราได้คะแนนรวมอยู่ที่ คะแนน ซึ่งข้ามมาอยู่ Band 4 ต้นๆ รวมถึงในหมวด 4 ทั้งข้อ 4.1 และ 4.2 จะอยู่ในช่วง 50 – 65 % (50%=20 คะแนน) เป็นต้น 1-30 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

5 ประสิทธิภาพของระบบ IT
โอกาสในการปรับปรุง กำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายที่สะท้อนประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศที่ชัดเจน ทั้งในมิติความพร้อมใช้ ถูกต้อง แม่นยำ เชื่อถือได้ ปลอดภัย เป็นความลับ ประสิทธิภาพของระบบ IT การนำแนวทาง ช่องทางการถ่ายทอดความรู้ ไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ และใช้ปรับปรุงการปฏิบัติงาน ยังไม่ปรากฎว่ามีการนำแนวทางการจัดการความรู้ ไปปฏิบัติทั่วทั้งองค์กร และเชื่อมโยงไปสู่การสร้างนวัตกรรม การจัดการความรู้ ควรมีตัวชี้วัดและเป้าหมายทั้งในระยะยาว และในระยะสั้นที่ชัดเจน เพื่อให้สามารถประเมินประสิทธิผลได้ แผนแม่บท IT และ KM

6 แนวทางการแก้ไขปรับปรุง OFIs หมวด 4
ประเด็น OFIs แนวทางแก้ไขปรับปรุง ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ กำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายในมิติความพร้อมใช้ ถูกต้อง แม่นยำ เชื่อถือได้ ปลอดภัย เป็นความลับ มีการติดตามประเมินผลและนำไปพัฒนาปรับปรุงระบบสารสนเทศ มีการ Learning โดยอบรมให้ความรู้ในการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายที่สะท้อนประสิทธิภาพในหลักสูตร “การกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญในกระบวนการ IT ตามกรอบ SEPA” ปรับปรุงตัวชี้วัดและเป้าหมายของกระบวนงานด้าน IT ในมิติต่าง ๆ ตาม OFIs กำหนดให้เป็นตัวชี้วัดและเป้าหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ 2. แผนแม่บทระยะยาวของ IT กำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายให้ชัดเจนทั้งในระยะยาวและระยะสั้น แผนแม่บทเทคโนโลยีและการสื่อสาร ฉบับปัจจุบัน มีการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแผนแม่บทไว้แล้ว โดยกำหนดให้ กวม.ฝยท. เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ติดตามและประเมินผลตัวชี้วัดดังกล่าว สำหรับคะแนนประเมินผลตามระบบ SEPA ในส่วนของหมวดกระบวนการ 1 – 6 (คะแนนเต็ม 600 คะแนน) กปน. ได้รับคะแนนแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่ลดลง โดยเริ่มจากคะแนน Baseline ในปี 2555 ที่คะแนน คะแนน ปี 2556 เพิ่มขึ้น คะแนนมาเป็น 266 และปี 2557 เพิ่มขึ้นเพียง คะแนนมาเป็น ตามลำดับ


ดาวน์โหลด ppt คะแนนประเมินตามระบบ SEPA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google