งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
วัยทำงาน รพ., รพ.สต., ชุมชน

2 การคัดกรองค่า BMI,วัดรอบเอว
ประเด็นการนิเทศติดตาม ควบคุมกำกับ (Regulate) ปีงบประมาณ 2560 : งาน DPAC จังหวัดเชียงใหม่ การคัดกรองค่า BMI,วัดรอบเอว - ประชาชนอายุ 15 – 59 ปี แยกกลุ่ม ปกติ,เสี่ยง,อ้วน(น้ำหนักเกินปัจจุบัน) 1. คลินิก DPAC ใน รพช./รพท/รพศ. มีคลินิกDPAC, มีกระบวนการทำงาน ตาม SOP, มีคณะกรรมการ, มีนโยบาย, มีกิจกรรมคัดกรอง, มีทะเบียนรายชื่อผู้รับบริการและการติดตาม, มีการวิเคราะห์ประเมินผลผู้รับบริการ, มีการประเมิน DPAC Q 7 องค์ประกอบเป็นคะแนน, มีผู้รับผิดชอบชัดเจน, มีหลักฐานเชิงประจักษ์(มีแผนงาน/โครงการ,เอกสารประชุม,คณะกรรมการ,ผู้รับผิดชอบ,ทะเบียนรายชื่อผู้รับบริการ,รูปภาพกิจกรรม, เอกสารประเมินติดตามรายบุคคล เป็นต้น) 2. คลินิกDPAC ใน รพ.สต. (เช่นเดียวกันกับข้อ 1) 3. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน, DPAC ในชุมชน ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ ปกติ เข้าร่วม ชมรมส่งเสริมสุขภาพ, ชมรมออกกำลังกาย มีจำนวนคนเข้าร่วมชมรม, มีเอกสารทะเบียน, มีภาพกิจกรรมในชุมชน,การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

3 Essential Task Essential Task KPI 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.รพ./ PCU /รพสต.มีการบันทึกข้อมูล ลง HDC อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 2.มีช่องทางส่งรายงานทาง IT ร้อยละ 100 1.บุคลากรผู้รับผิดงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีการวิเคราะห์การดำเนินงาน DPAC จัดทำแผนและมีการปรับเปลี่ยนแผนตามบริบทของพื้นที่ 2.ทุกอำเภอมีแผนงาน/โครงการดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน 3. ผู้รับผิดชอบ งานมีข้อมูลและ ช่องทางการ สื่อสารในกลุ่ม ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ที่ยั่งยืน 4. มีเครือข่ายใน การดำเนินงาน ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมใน พื้นที่ 1. มีการดำเนินการจัดตั้ง DPAC ในสถานบริการบูรณาการกับงาน NCDs,อื่นๆ 2. บุคลากรมีการ ประชุมสรุปการ ดำเนินงาน DPAC /มีการ ประเมิน DPAC Q ตนเอง (ได้ คะแนน เปรียบเทียบก่อน และหลัง ดำเนินการ) 3.รับผิดชอบงาน การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม สุขภาพมีช่องทาง การรายงานใน ระบบ IT มีทะเบียนผู้รับบริการอย่างเป็นรูปธรรม 1.บุคลากร ผู้รับผิดชอบงาน มีการประชุมสรุป และวิเคราะห์ การดำเนินงาน และมีแนว ทางการแก้ไข ปัญหาในการ ดำเนินงานการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม สุขภาพ 2. สถานบริการ สาธารณสุขที่จัด คลินิก ที่จัด คลินิก DPAC ได้รับการ ประเมินคุณภาพ จากระดับ อำเภอ/ระดับ โซน/จังหวัด 3. มีนวัตกรรม และใช้อย่าง ต่อเนื่องในสถาน บริการ สาธารณสุข/ใน ชุมชน 1. รพ./รพ.สต./ชุมชน มีการจัดตั้งคลินิก DPAC และมีทะเบียนผู้รับบริการอย่างเป็นรูปธรรม 3. มีผู้รับผิดชอบงานชัดเจนสามารถประสานงานได้ 4. คลินิก DPAC คุณภาพในโรงพยาบาลทุกแห่งได้คะแนน 80 ขึ้นไป 5.คลินิก DPAC คุณภาพใน รพ.สต. ได้คะแนน 80 คะแนนขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 30/อำเภอ

4 ผลการดำเนินงาน outcome
ผลงาน 6 เดือน (TASK) เป้าหมาย target task ที่กำหนด ผลการดำเนินงาน outcome 1.มีระบบข้อมูลรายงานในระบบ HDที่ครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา 1. มีการคัดกรอง วิเคราะห์ข้อมูล BMI, วัดรอบเอว วัยทำงาน 18 – 59 ปี 11 เดือน 29 วัน, และอายุ 15 ปีขึ้นไป มีการคัดกรองกลุ่มวัยทำงาน HDC 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 51.01 (ไตรมาสแรก 10.07) * 18 – 59 ปี 11 เดือน 29 วัน, BMI ปกติ 44.91 * 15 ปีขึ้นไป BMI >25 = 2.มีการประเมิน DPAC Quality ใน รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. 1. คลินิก DPAC คุณภาพในโรงพยาบาลทุกแห่งได้ประเมินมาตรฐานได้คะแนน 80 ขึ้นไป 2.คลินิก DPAC คุณภาพใน รพ.สต. ประเมินมาตรฐานได้คะแนน 80 คะแนนขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 30/อำเภอ ให้มีการประเมินตนเองDPAC Quality รพศ. รพท. รพช. ส่ง 6 แห่ง คะแนน 80 ขึ้นไป 1 แห่ง(ร้อยละ16.6) รพ.สต.ส่ง 5 อำเภอ/รพ.สต 60 แห่ง คะแนน 80 ขึ้นไป 9 แห่ง (ร้อยละ11.25) รพศ. รพท. รพช. มีคลินิก DPAC Quality มีทุกแห่ง, ในระดับอำเภอ รพ.สต. มีคลินิก DPAC Quality ร้อยละ 30 บุคลากรได้รับทราบนโยบายและปรับแผนการปฏิบัติงานตามบริบทของพื้นที่ 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการฯแจ้งนโยบายทำแผนวันที่ 25 มกราคม 2.ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรับปรุงแผนงานบูรณาการงาน 28 มีนาคม จะมีการนำเสนอตามโซนประมาณกรกฎาคม.60


ดาวน์โหลด ppt การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google