งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
โดย คณะทำงาน หมวด 6 วันที่ 27 สิงหาคม 2552

2 กรอบประเด็นการนำเสนอ
1. ภาพรวม และความเชื่อมโยงระหว่าง หมวด 6 กับหมวดต่างๆ และลักษณะสำคัญขององค์กร 2. กระบวนการทำงานของหมวด 6 (PM1- PM6) 3. งานที่หมวด 6 ดำเนินการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ

3 1. ภาพรวม และความเชื่อมโยง ระหว่างหมวด 6 กับหมวดต่างๆ และลักษณะสำคัญขององค์กร

4 Value Chain ของกรมอนามัย
Level 1 Value Creation Process ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนากลไกการส่งมอบสินค้า/บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งต่อ /ส่ง มอบ สินค้า/บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ การพัฒนาสินค้า/บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม Core Process -กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ Support Process

5 Value Chain กรมอนามัย ปี 2552
Level 1 ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนากลไก การส่งมอบสินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งต่อ /ส่ง มอบ สินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม Level 2 ผลิตและพัฒนา Product & Process Innovation (Knowledge/ชุดความรู้ /Service Model/Technology) ในแต่ละเนื้อหา (Issue) นโยบายสาธารณะ และกฎหมาย พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และกฎหมาย พัฒนาระบบและสร้างกลไกการขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม /ส่ง มอบ Package ผลผลิตและบริการให้ ผู้รับมอ(Intermediate Customer) Core Process Level 3 * กระบวนงานผลิตพัฒนาองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม **พัฒนาผลักดันสนับสนุนให้เกิดนโยบายกฏหมายที่จำเป็นด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม **พัฒนาและสร้างกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม * การถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ศึกษาวิจัย นโยบายสาธารณะ การเฝ้าระวัง สื่อสารมวลชน การจัดทำ(พัฒนา) เกณฑ์มาตรฐาน/คู่มือ/หลักสูตร กฎหมาย การกำกับติดตามและประเมินผล ฝึกอบรม(ประชุม/อบรม/สัมมนา) สร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย การรณรงค์เพื่อสร้างกระแสสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย การสร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย การบริหารความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย Support Process กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ

6 หมวด 6 ที่เชื่อมโยงกับหมวดอื่น
Value Chain กรมอนามัย IT2 กรมอนามัยทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ที่จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ และต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพิ่มเติม อย่างน้อย 2 กระบวนการ IT3 กรมอนามัยต้องมีฐาน ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวน การสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ RM 3 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของ กระบวนการที่สร้างคุณค่า SP7 กรมอนามัยต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อเตรียมการรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านกระบวนการ (รายงานผลเป็น RM6) RM 4 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน

7 2. กระบวนการทำงานของหมวด 6 (PM1- PM6)

8 PMQA ปี 2552 หมวด 6 PM 1 กรมอนามัยต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ

9 PM 2 กรมอนามัยต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

10 PM 3 กรมอนามัยต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญ ใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่สำคัญ มาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง

11 PM 4 กรมอนามัยต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการเพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

12 PM 5 กรมอนามัยต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกระบวนการที่สร้างคุณค่าและสนับสนุน)

13 PM 6 กรมอนามัยต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและ ป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสีย จากผลการดำเนินการ

14 3. งานที่หมวด 6 ดำเนินการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ

15 3.1 ตอบแบบฟอร์มประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แบบฟอร์มที่ 1 : แผนพัฒนาองค์การ ปี 2552 ส่งสำนักงาน ก.พ.ร. 30 ม.ค. 2552 แบบฟอร์มที่ 2 : ตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนฯ แบบฟอร์มที่ 3 : คือ PM1 – PM6 3.3 คือ RM3, RM4, RM6 แบบฟอร์มที่ 4 : ผลลัพธ์การดำเนินการตามแผน พัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 6 : 6.6 คือ ADLI และ OFI รายงาน SAR CARD 6ม 9 และ 12 เดือน

16 3.3 ฐานข้อมูล IT 2 ของกระบวนการสร้างคุณค่า
3.2 จัดทำ SOP SOP ใหม่ กระบวนการที่สร้างคุณค่า 2 กระบวนการ และกระบวนการสนับสนุน 2 กระบวนการ เพื่อใช้ใน ปี 2553 ปรับปรุง SOP เก่า กระบวนการที่สร้างคุณค่า 2 กระบวนการ และกระบวนการสนับสนุน 2 กระบวนการ 3.3 ฐานข้อมูล IT 2 ของกระบวนการสร้างคุณค่า ปรับปรุงฐานข้อมูล 2 กระบวนการเดิมที่ส่งปีงบประมาณ 2551 จัดทำฐานข้อมูลใหม่ของ 2 กระบวนการที่ส่งปีงบประมาณ 2552 3.4 จัดทำฐานข้อมูล IT 3 ของกระบวนการสนับสนุน 2 กระบวนการ

17 3.5 จัดทำแผนความเสี่ยงด้านกระบวนการ (SP7) และรายงานผลอย่างน้อย 2 ไตรมาส รวมฉบับสิ้นปีงบประมาณ 2552 (RM6) 3.6 ประเมินการใช้ SOP ผลลัพธ์ใน RM3 และ RM4 ความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน อย่างละ 2 กระบวนการ

18 3.7 ดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ในแบบฟอร์ม 1 และรายงานผลตามตัวชี้วัด ในแบบฟอร์ม 2 ของปี 2552
3.8 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ในแบบฟอร์ม 1 และแบบฟอร์ม 2 ของปี 2553 3.9 ผลการประเมินองค์กรตนเองหมวด 6 ตามโปรแกรมที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด 3.10 เตรียมหลักฐานอ้างอิง

19 สาระสำคัญในแผนพัฒนาองค์การ หมวด 6
เป็นการแก้ไข OFI ที่มีอยู่ในปัจจุบัน คือการที่บุคลากรและหน่วยงานนำ SOP ไปใช้ไม่ทั่วทั้งองค์กร การสื่อสาร SOP และถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติอย่างทั่วทั้งองค์การ การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า (กระบวนการรับรองมาตรฐานฯ) /สนับสนุนใหม่ ติดตามและประเมินผลการใช้ SOP เพื่อการปรับปรุง

20 มติที่ประชุม PMQA หมวด 6 เมื่อวันที่ 26 ส. ค

21 ข้อเสนอเพื่อการพัฒนาใน ปี 2553
1. ให้ กพร. กรม เป็นแกนหลักในการจัดแผน Site Visit - PMQA ทุกหมวดพร้อมกัน 2. เสนอให้หมวด 2 จัดทำ SP7 เป็นภาพรวมของกรมอนามัยที่มีความเชื่อมโยงความเสี่ยง ครอบคลุม ทั้ง 4 ด้าน 3. ควรจัดการระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ PMQA ตั้งแต่ ลักษณะสำคัญขององค์กร และหมวด 1-7 ให้มีศูนย์รวมของข้อมูล และเข้าถึงได้ง่าย 4. ควรจัดให้มี Mirror Server ของกรมอนามัย

22 คณะทำงานฯ หมวด 6 PMQA กรมอนามัย วันที่ 27 สิงหาคม 2552
สวัสดีค่ะ คณะทำงานฯ หมวด 6 PMQA กรมอนามัย วันที่ 27 สิงหาคม 2552


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google