หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 5. องค์ประกอบในการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 6. ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 7. จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 8. การปรับปรุงผลงาน
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ ข้าราชการ 21 คน พนักงานมหาวิทยาลัย 360 คน พนักงานราชการ ลูกจ้าง รวมทั้งสิ้น 381 คน มีคุณสมบัติขอกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น 155 คน (40.68%) คุณสมบัติยังไม่ครบ 226 คน (59.32%)
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ จำแนกตามหน่วยงาน กก. 11 / 35 กค. 20 / 32 กบ. 9 / 22กพ. 18 / 20 กผ. 6 / 22 กบน. 10 / 22 กบส. 8 / 21 กบว. 6 / 23 สคศ. 5 / 6ตสน. 3 / 5 สวท. 9 / 23 สวส. 21 / 48 สวพ. 6 / 10 คอ. 2 / 13 ทอ. 4 / 12 บท. 5 / 25 วท. 4 / 11 วส. 4 / 17 ศศ. 4 / 13 รวมทั้งสิ้น 155 / 381 คน
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน มทร.สุวรรณภูมิ ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน 1 คน ชำนาญงาน – ชำนาญงานพิเศษ 2 คน ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ 140 คน ชำนาญการ – ชำนาญการพิเศษ 12 คน ชำนาญการพิเศษ – เชี่ยวชาญ - คน รวมทั้งสิ้น 155 คน
ความก้าวหน้าของบุคลากรใน มหาวิทยาลัย เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คุณภาพของ มหาวิทยาลัยเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง ปีงบประมาณ 2560 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่ได้รับการ พัฒนาด้านวิชาการ/ ภาษา / IT /เทคโนโลยีสนับสนุนการ จัดการเรียนการสอน (ร้อยละ 60) ใน 1 ปี สายวิชาการ ต้องอบรม ภาษาอังกฤษ 30 ชม. วิชาชีพ 40 ช.ม. สายสนับสนุน ภาษาอังกฤษ 20 ชม. วิชาชีพ 30 ช.ม. ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่มี ความก้าวหน้าในอาชีพ (ร้อยละ 15)
เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน สายวิชาชีพ - ประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน – ชำนาญงาน – ชำนาญ งานพิเศษ (3,500) - ประเภทวิชาชีพเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ (3,500) – ชำนาญการพิเศษ (5,600) – เชี่ยวชาญ (9,900) – เชี่ยวชาญพิเศษ (13,000) - ประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ ปฏิบัติการ – ชำนาญการ– ชำนาญการ พิเศษ (3,500) – เชี่ยวชาญ (9,900) – เชี่ยวชาญพิเศษ (13,000)
เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน สายบริหาร - หัวหน้างาน ชำนาญการ – ชำนาญการพิเศษ – เชี่ยวชาญ หัวหน้าสำนักงานคณบดี / ผู้อำนวยการกอง - ชำนาญการ 7 ปี / ชำนาญการพิเศษ 3 ปี และ - หน.งาน มากกว่า 1 งาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี / หน.งาน 1 งาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี + รก.หน.งานอื่น รวมกันไม่น้อยกว่า 1 ปี และ - ผ่านการอบรมและมีเงินเดือนตามเกณฑ์
เส้นทางความก้าวหน้า สายสนับสนุน สายบริหาร - ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี - ผอ.กอง ไม่น้อยกว่า 1 ปี / ปฏิบัติหน้าที่ ผอ.กอง + ชำนาญการพิเศษ รวมกันไม่น้อยกว่า 4 ปี / ชำนาญ การพิเศษ >4 ปี / เชี่ยวชาญ และ - ผอ. มากกว่า 1 หน่วยงาน 1 ปี และ - ผ่านการอบรมและมีเงินเดือนตามเกณฑ์
องค์ประกอบของ คณะกรรมการประเมินค่างาน รองอธิการบดี ประธาน ผู้เชี่ยวชาญในงาน 2 คน กรรมการ ผู้บังคับบัญชาโดยตรง กรรมการ ผอ.กบ. กรรมการและเลขานุการ กำลังประเมินค่างาน 74 / 155
ขั้นตอนการประเมินค่างาน 1. บุคลากรนำเสนองานที่จะให้ประเมิน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินค่างาน 3. นำเสนอ กบม. เพื่อให้ความเห็นชอบ 4. นำเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ 5. ประกาศรับสมัคร (ดูปฎิทินกำหนดขั้นตอนการประเมินค่างาน)
เกณฑ์ในการประเมินค่างาน ปกติ ชำนาญงาน/การ ชำนาญงาน/การพิเศษ หน.งาน ชำนาญการ - เชี่ยวชาญ (ถ้าสูงกว่านี้ ไม่ใช่เกณฑ์นี้) หน้าที่และความรับผิดชอบ ความยุ่งยากของงาน การกำกับตรวจสอบ การตัดสินใจ ถ้าประเมินในตำแหน่ง หน.งาน + การบริหารจัดการ ปกติ ชำนาญงาน/การ 64 – 83 ชำนาญงาน/การพิเศษ 84 หน.งาน ชำนาญการ 60 – 69 ชำนาญการพิเศษ 70-79 เชี่ยวชาญ > 80
ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรง ตำแหน่งสูงขึ้น ต้องเป็นตำแหน่งที่ได้ประเมินค่างานแล้ว โดยการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ในตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ต้องประเมินตามองค์ประกอบต่อไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ 2. ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งที่จะประเมิน 3. ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ 4. จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 5. การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุน งานบริการ วิชาการหรือวิชาชีพบริการต่อสังคม (เฉพาะเชี่ยวชาญและเชี่ยวชาญพิเศษ)
องค์ประกอบของ คณะกรรมการ - คณะกรรมการประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น รองอธิการบดี ประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก 4 คน กรรมการ ผอ.กบ. เลขานุการ
องค์ประกอบในการแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น รายการประเมิน เกณฑ์ผ่าน ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 2. ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งที่จะประเมิน 3. ผลงาน วิธีปกติ = ดี วิธีพิเศษ = ดีมาก วิธีปกติ = มีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง วิธีพิเศษ = มีคุณสมบัติแตกต่างจากมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ ได้แก่ 1. คู่มือปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 เล่ม และ 2. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรืองานวิจัยซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานในหน้าที่อย่างน้อย 1 เรื่อง ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการพิเศษ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของหน่วยงานอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย หรือผลงานลักษณะอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ
ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรือผลงานลักษณะอื่น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย ซึ่งได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ได้แก่ 1. ผลงานเชิงวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ หรือผลงานลักษณะอื่น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการพัฒนางานของมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย ซึ่งได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ อย่างน้อย 1 เรื่อง/รายการ
ผลงานในการขอแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น โดยผลงาน 1) ต้องไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาและการฝึกอบรม 2) ไม่ใช่ผลงานเดิมที่เคยใช้ประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งมาแล้ว 3) กรณีที่เป็นผลงานร่วมต้องระบุการมีส่วนร่วมและมีคำรับรองจากผู้มีส่วนร่วม
จริยธรรมและจรรยาบรรณทาง วิชาชีพ 1. ความซื่อสัตย์ทางวิชาชีพ (ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตน ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น ไม่นำผลงานในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่มากกว่าหนึ่งฉบับ) หากนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตน ลอกเลียนผลงานผู้อื่น ให้ดำเนินการทางวินัย และห้ามเสนอขอตำแหน่งไม่น้อยกว่า 5 ปี ถ้าทราบภายหลังให้ถอดถอน 2. ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้ในผลงานของตนเองและแสดงหลักฐานของการค้นคว้า 3. ไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาชีพ จนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น 4. ผลงานต้องได้มาจากการศึกษาโดยใช้หลักวิชาชีพเป็นเกณฑ์
การปรับปรุงผลงาน ในกรณีที่คณะกรรมการมีมติให้ปรับปรุงผลงาน (ไม่ใช่ทำ/ส่งผลงานชิ้นใหม่) ต้องปรับปรุงให้เสร็จภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่ได้รับทราบมติ ยกเว้นกรณีมีเหตุผลความจำเป็นอาจขยายเวลาได้อีกไม่เกิน 3 เดือน วันที่แต่งตั้งต้องเป็นวันที่ได้รับผลงานฉบับสมบูรณ์ กรณีผลงานไม่อยู่ในเกณฑ์ สามารถขอให้ทบทวนได้ไม่เกิน 2 ครั้ง