นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
COMPETENCY DICTIONARY
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย ทิศทางการดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และระบบติดตามประเมินผล นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย

1. ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ ทิศทางการดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และระบบติดตามประเมินผล 1. ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ 2. การประสานงานเครือข่ายและการติดตามประเมินผล 3. การสร้างการยอมรับและเห็นความสำคัญของกรม

1. ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ คนไทยสุขภาพดี Basic Package Strategic Focus Specific Issue P&P Curative 4 กลุ่ม 61 เป้าหมาย 1. โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ 2. PPP 3. Medical Hub 4. ยาเสพติด 5. ASEAN & International Health 6. Border Health 7. จังหวัดชายแดนภาคใต้ 8. สุขภาพ กทม. 20 เป้าหมาย 3 กองทุน

Strategic Focus ตัวชี้วัดตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน เป้าหมาย ระยะ 10 ปี 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี เด็ก สตรี 1. อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) 2. อัตราตายทารก (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) เด็กปฐมวัย 1. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า 100) 2. อัตราการป่วยด้วยโรคหัด (ไม่เกิน 0.5 ต่อประชากรแสนคน) เด็กวัยรุ่น วัยเรียน 1. อัตราการตั้งครรภ์ในมารดาอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรพันคน) 2. ร้อยละของเด็กนักเรียนเป็นโรคอ้วน (ไม่เกิน 15) 3. ร้อยละผู้สูบบุหรี่ในวัยรุ่น (ไม่เกิน10) 4. จำนวนนักดื่มหน้าใหม่ที่เป็นวัยรุ่น (ลดลงร้อยละ 50) 5. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ อายุ 0-15 ปี (ไม่เกิน 10 ต่อประชากรแสนคน) 6. ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (เท่ากับ 70) วัยทำงาน 1. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่(ลดลงร้อยละ 67) 2. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อประชากรแสนคน) 3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน) 4. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ (ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 1. ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นโรคสมองเสื่อม (ไม่เกิน 10) เป้าหมายระยะ 3-5 ปี ระดับกระทรวง 15 ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 1-2 ปี (เขตสุขภาพ/ จังหวัด) 1. ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด (ไม่เกิน 5) 2. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด (ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (ไม่น้อยกว่า 60) 4. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) 5. ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด (ไม่น้อยกว่า 90) 6. ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ (ไม่เกิน 60) 7. ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70) 8. อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) 9. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) 10. ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ไม่น้อยกว่า 80) 11. ร้อยละของสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (ไม่น้อยกว่า 80) 12. สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 13. ร้อยละของประชาชนอายุมากกว่า 35 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (เท่ากับ 90) 14. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่า 50) 15. ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า 40) 16. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อ (เท่ากับ 100) 17. ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (ไม่น้อยกว่า 80) 18. สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. (มากกว่าร้อยละ 50) 19. ร้อยละของ รพศ. ที่มี CMI ไม่น้อยกว่า1.8 และ รพท. ไม่น้อย 1.4 (เท่ากับ 80) 20. จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50) 21. ร้อยละของสถานประกอบการสุขภาพเอกชนได้รับการรับรองมาตรฐาน (100) 22. ร้อยละของโรงพยาบาลได้รับการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาล (CPG) (90) 22 ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 1 ปี (เขตสุขภาพ/จังหวัด) ระบบบริการ 1. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 2. ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 3. ร้อยละของบริการ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 4. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่น ฯลฯ (ไม่น้อยกว่า 70) 5. ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 6. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 7. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ14) 8. เครือข่ายมีระบบพัฒนา service plan ที่มีการดำเนินการได้ตามแผน ระดับ 1 2 3 4 อย่างน้อย 4 สาขา และตัวชี้วัดอื่นๆ (6 สาขา) ตามที่กำหนด 9. ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด (ไม่น้อยกว่า 70) 10.ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่า 70) 11.ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพ มาตรฐาน (ร้อยละ 70 ของแผนการดำเนินงาน) การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 1. ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ (ไม่น้อยกว่า 48) 2. ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยง ระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้SRM หรือเครื่องมืออื่นๆในการทำแผนพัฒนาสุขภาพ (ไม่น้อยกว่า 50) สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดำเนินงานสุขภาพ 1. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพปลอดบุหรี่ (เท่ากับ 100) 2. ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม (ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ) (ไม่น้อยกว่า 75) 3. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้รับมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ 92) 4. ร้อยละของสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ 87) 5. ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP) ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย (ไม่น้อยกว่า 70) 22 ตัวชี้วัด สาธารณภัย/ฉุกเฉิน 1.ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) 2.ร้อยละของ ER EMS คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 3.จำนวนทีม MERT ที่ได้รับการพัฒนา (เท่ากับ 24 ทีม) ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) 1. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50) 5

1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี เป้าหมายระยะ 10 ปี 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี 6

เป้าหมายระยะ 3-5 ปี เด็ก สตรี 2. อัตราตายทารก (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) 1. อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) 7

เป้าหมายระยะ 3-5 ปี เด็กปฐมวัย 1. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า 100) 2. อัตราการป่วยด้วยโรคหัด (ไม่เกิน 0.5 ต่อประชากรแสนคน) 8

เด็กวัยรุ่น วัยเรียน (ปรับเป็น “เด็กวัยเรียน วัยรุ่น”) เป้าหมายระยะ 3-5 ปี เด็กวัยรุ่น วัยเรียน (ปรับเป็น “เด็กวัยเรียน วัยรุ่น”) 3. ร้อยละผู้สูบบุหรี่ในวัยรุ่น (ไม่เกิน10) 4. จำนวนนักดื่มหน้าใหม่ที่เป็นวัยรุ่น (ลดลงร้อยละ 50) 5. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ อายุ 0-15 ปี (ไม่เกิน 10 ต่อประชากรแสนคน) 6. ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (เท่ากับ 70) 1. อัตราการตั้งครรภ์ในมารดา (ปรับเป็นอัตราการคลอดในหญิง) อายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรพันคน) 2. ร้อยละของเด็กนักเรียนเป็นโรคอ้วน (ไม่เกิน 15) 9

เป้าหมายระยะ 3-5 ปี วัยทำงาน 1. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่(ลดลงร้อยละ 67) 2. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อประชากรแสนคน) 3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน) 4. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ (ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน) 10

เป้าหมายระยะ 3-5 ปี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 1. ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นโรคสมองเสื่อม (ไม่เกิน 10) 11

เป้าหมายระยะ 1-2 ปี 1. ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด (ไม่เกิน 5) 2. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด (ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (ไม่น้อยกว่า 60) 4. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) (ปรับเป็น “ไม่น้อยกว่า 90”) 12

เป้าหมายระยะ 1-2 ปี 5. ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด (ไม่น้อยกว่า 90) 8. อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) 6. ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) (ปรับเป็น 3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ (ไม่เกิน 60) 7. ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) ปรับเป็น “ร้อยละของเด็ก (0-12 ปี)” มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70) 13

เป้าหมายระยะ 1-2 ปี 9. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) ร้อยละของสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (ไม่น้อยกว่า 80) 10. ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ไม่น้อยกว่า 80) 12. สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) (อยู่ระหว่างการพิจารณาปรับเป็น “ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ระยะที่ 3 และ 4) 14

เป้าหมายระยะ 1-2 ปี 13. ร้อยละของประชาชนอายุมากกว่า 35 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดัน โลหิตสูง (เท่ากับ 90) 14. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่า 50) 15. ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า 40) 16. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแล รักษา/ส่งต่อ (เท่ากับ 100) 15

เป้าหมายระยะ 1-2 ปี 18. สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. (มากกว่าร้อยละ 50) 19. ร้อยละของ รพศ. ที่มี CMI ไม่น้อยกว่า1.8 และรพท. ไม่น้อย 1.4 (เท่ากับ 80) 20. จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50) 21. ร้อยละของสถานประกอบการสุขภาพเอกชนได้รับการรับรองมาตรฐาน (100) 22. ร้อยละของโรงพยาบาลได้รับการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาล (CPG) (90) 17. ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (ไม่น้อยกว่า 80)

เป้าหมายระยะ 1 ปี ระบบบริการ 5. ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 6. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 1. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 2. ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 3. ร้อยละของบริการ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70)

7. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ14) 8. เครือข่ายมีระบบพัฒนา service plan ที่มีการดำเนินการได้ตามแผน ระดับ 1 2 3 4 อย่างน้อย 4 สาขา และตัวชี้วัดอื่นๆ (6 สาขา) ตามที่กำหนด 9. ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด (ไม่น้อยกว่า 70) 10.ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่า 70) 11.ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ร้อยละ 70 ของแผนการดำเนินงาน)

การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เป้าหมายระยะ 1 ปี การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 1. ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ (ไม่น้อยกว่า 48) 2. ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยง ระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้ SRM หรือเครื่องมืออื่นๆ ในการทำแผนพัฒนาสุขภาพ (ไม่น้อยกว่า 50)

เป้าหมายระยะ 1 ปี สาธารณภัย/ฉุกเฉิน 1.ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) 2.ร้อยละของ ER EMS คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 3.จำนวนทีม MERT ที่ได้รับการพัฒนา (เท่ากับ 24 ทีม)

สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดำเนินงานสุขภาพ เป้าหมายระยะ 1 ปี สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดำเนินงานสุขภาพ 1. ร้อยละของสถานบริการสุขภาพปลอดบุหรี่ (เท่ากับ 100) 3. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้รับมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ 92) 4. ร้อยละของสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ 87) 5. ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP) ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย (ไม่น้อยกว่า 70) 2. ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม (ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ) (ไม่น้อยกว่า 75)

ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) เป้าหมายระยะ 1 ปี ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) 1. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50)

2. การประสานงานเครือข่ายและการติดตามประเมินผล การสร้างความร่วมมือของเครือข่ายในการรับการถ่ายทอดและการประเมินผล บูรณาการในระดับกรม ร่วมวางแผน ลดความซ้ำซ้อน ใช้ทรัพยากรร่วมกัน การจัดการข้อมูล การสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล ลดภาระในการเก็บรวบรวมข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูลสู่สังคม

3. การสร้างการยอมรับและเห็นความสำคัญของกรม มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสาธารณสุขของประเทศในภาพรวม Service Plan ทำงานเป็นทีมข้ามกรม กระทรวง และหน่วยงานอื่นนอกระบบราชการ ทำงานเชิงรุกในการมีส่วนร่วมกำหนดนโยบาย สื่อสารกับสังคมอย่างสม่ำเสมอ ด้วยวิชาการและข้อมูลที่มี มีแนวคิดด้านการตลาด ทำงานร่วมและใกล้ชิดสื่อมวลชน ตระหนักถึง TREAT และ WEAKNESS