ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
รศ.ดร.จิตตินันท์ เดชะคุปต์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
4C (Class Camp Club CoP) กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
บทบาทหน้าที่สำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
มาตรการ/กลยุทธ/ขับเคลื่อน กรอบภารกิจงานอนามัยเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ประชากร ข้อเสนอเชิงนโยบาย อนามัย เจริญพันธุ์ -จำนวน -คุณภาพ -สุขภาพมารดา -สุขภาพด้านเพศ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การบริหารจัดการอาสาสมัครสภากาชาดไทยแบบบูรณาการ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
ความคิดในเชิงกลยุทธ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ Health Literacy 25 มกราคม 2560

“ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง ความรอบรู้และความแตกฉานด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถกลั่นกรอง เลือกรับ นำไปสู่การตัดสินใจ ด้วยความเฉียบคม ที่จะรับ/ปรับ/ใช้/ไม่ใช้สินค้าและบริการด้านสุขภาพ” “การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ จะประเมินได้จากประชาชนต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้และบริการ เข้าใจ ซักถาม คัดเลือก รับ/ปรับ/ใช้ ได้ผลแล้วบอกต่อได้”

นิยาม ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง ประชาชน เข้าถึง เข้าใจ ข้อมูล ความรู้ และการจัดบริการสุขภาพ สามารถ ตัดสินใจ เลือกรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและใช้บริการสุขภาพ ตลอดจนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

Lift Course Approach (LCA ) ประกอบด้วย 4 concept Timeline : “today’s experiences and exposures influence tomorrow health” Timing  Health Trajectory เส้นทางหรือถนนชีวิตและสุขภาพมีช่วงที่สำคัญและไวต่อการรับผลกระทบต่อสุขภาพ 3. Environment รวมถึง community environment ทั้ง Biologic ,Physical and social มีผลมากต่อการสร้างเสริมสุขภาพ 4. Equity – ความเหลื่อมล้ำส่งผลต่อสุขภาพ มากกว่าพันธุกรรม และการตัดสินใจส่วนบุคคล

Conceptual model of health literacy

เส้นทางชีวิต(Life Course Approach) ข้อเสนอ ระบบพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพไทย แบบบูรณาการ 3 มิติ (Health Literacy System – Thai HL Matrix-3 Dimensions) การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ตามกลุ่มวัยใน Setting ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 10 ม.ค.60 ก่อนตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ และการเจริญเติบโตของเด็ก หน่วยบริการสุขภาพ ศูนย์บริการเด็กชุมชน เส้นทางชีวิต(Life Course Approach) พัฒนา เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเยาวชน สถานศึกษา/ศูนย์พัฒนาชุมชน พัฒนาสุขภาพวัยทำงาน ที่ทำงาน, สถานประกอบการ, สวน - ไร่ - นา การไปใช้บริการทางการแพทย์ พัฒนาผู้สูงวัยเป็นหลักชัยของสังคม อาคารชุด/ชุมชน/LTC/ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุกลางวัน มีและเข้าถึง ข้อมูลบริการ เข้าใจโรค ปัญหา การจัดบริการ ตรวจสอบ ซักถามได้ ตัดสินใจใช้ตาม บริบทและเงื่อนไข ของตนเอง แสวงหาและเข้าถึง ข้อมูลผลิตภัณฑ์ ที่สนใจ เข้าใจ ข้อดีข้อเสีย ความเสี่ยง ความคุ้มค่า ประเมิน ตรวจสอบ และเลือกรับ ตัดสินใจเลือกใช้ มีและเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่อาการเสี่ยง เข้าใจโรค ความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง ซักซ้อม ตรวจสอบ ตัดสินใจลดหรือ กำจัดปัจจัยเสี่ยง มีและเข้าถึงปัจจัย กำหนดสุขภาพ เข้าใจปัจจัย ปกป้อง เพื่อพิจารณาสุขภาพ สอบถาม คัดกรอง และเลือก ตัดสินใจปรับพฤติกรรมตนเอง และการปรับสภาพแวดล้อมได้ การคัดกรองและเลือกรับผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ การควบคุมป้องกันโรคด้วยตนเอง การส่งเสริมสุขภาพของตนเอง ระบบที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มวัย 3 มิติ 4 ประเด็น (4x4x4) กระบวนการพัฒนา Health Literacy เข้าถึง/ เข้าใจ /ตรวจสอบ/ตัดสินใจใช้และบอกต่อ

ข้อเสนอ10 ข้อของสภาปฏิรูป โดยสังเขป ยกระดับการปฏิรูปความรอบรู้ด้านต่างๆ ของประชาชนเป็นวาระแห่งชาติ (National Agenda) จัดตั้งคณะกรรมการสร้างเสริมความรอบรู้ และสื่อสารสุขภาพแห่งชาติ กำหนดให้มีการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน อยู่ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนพัฒนาด้านสาธารณสุข จัดการให้สถาบันการศึกษาทุกระดับและสถานบริการสุขภาพ สถานที่ทำงานและโรงงานต่างๆ เป็นองค์กรแห่งความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Organization) พัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นเป็นชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Communities)

ข้อเสนอ10 ข้อของสภาปฏิรูป โดยสังเขป (ต่อ) สนับสนุนและขยายความครอบคลุมให้ประชาชนสามารถรู้หนังสือให้มากที่สุด (Literacy) สนับสนุนการศึกษาวิจัย และจัดให้มี Center of Excellence ด้านสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพ จัดให้มีรายการโทรทัศน์ด้านสุขภาพเป็นประจำ และมีการบริหารจัดการเพื่อตอบโต้ข้อมูลที่ผิดพลาดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ทันท่วงที พัฒนากระบวนการผลิตสื่อด้านสุขภาพและช่องทางเผยแพร่ข้อมูล จัดให้มีการสำรวจในกลุ่มประชาชนกลุ่มต่างๆ หรือทั้งประเทศในเรื่องต่อไปนี้ ทุก 3 หรือ 5 ปี - ความรอบรู้ด้านสุขภาพ - พฤติกรรมสุขภาพ, พฤติกรรมเสี่ยง - National Health Examination Survey

ความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ ร่าง กรอบยุทธศาสตร์ชาติด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม การสร้างคนไทยแข็งแรง (คนไทย 4.0) ด้วยแนวทางประชารัฐ ความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ หน่วยงานใน ภาคสาธารณสุข หน่วยงานนอก ภาคสาธารณสุข การบริหารจัดการ คนไทยแข็งแรง เชิงพื้นที่ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน เส้นทางชีวิตและสุขภาพ

คุณสมบัติของพลเมืองไทย 4. 0 รอบรู้สุขภาพ Smart Thai People 4 คุณสมบัติของพลเมืองไทย 4.0 รอบรู้สุขภาพ Smart Thai People 4.0 Health Literacy 100% ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง Independent Health Literacy เรียนรู้ที่จะอยู่อย่างมีสุขภาพดี Learn to Live with Health Literacy ใฝ่เรียนรู้ที่จะเข้าถึงข้อมูลความรู้สุขภาพ Love to Learn 4 Health Literacy 100% 0% จิตสาธารณะ : Learn to Love ไม่สามารถตัดสินใจโดยตนเอง Dependent Health Literacy ปรับพฤติกรรมได้ผลแล้วบอกต่อ Interdependent Health Literacy By นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 10 ม.ค.60

กรอบความรอบรู้ เรื่องสุขภาพของพลเมืองไทย 4.0 4 มิติ x 4 ห่วง บริการสุขภาพ ป้องกัน ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ส่งเสริม เป้าหมาย พลเมืองไทย 4.0 Smart Thai People 4.0 5 ระดับ พฤติกรรม ความรอบรู้ด้านสุขภาพของพลเมือง 1. เข้าถึง 2. เข้าใจ 3. ซักถาม ประเมิน 4. ตัดสินใจ 5. บอกต่อ By นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 10 ม.ค.60