แนวทางการทำโครงงาน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย การอบรมเชิงปฏิบัติการ CT-LT เมษายน 2558
คำถามในแบบประเมินออนไลน์ ที่มาของโครงงาน มีการสำรวจความรู้ประสบการณ์เดิมและการคาดการณ์คำตอบของนักเรียน ใช่หรือไม่ใช่ ได้ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเตรียมการและวางแผนการทำโครงงานหรือไม่ ให้ความสำคัญกับแง่มุมต่อไปนี้เป็นพิเศษหรือไม่ (การบูรณาการ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง การทำงานร่วมกัน)
คำถามในแบบประเมินออนไลน์ ได้บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดบ้าง กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายหรือไม่ มีกิจกรรมเพิ่มเติมที่ไม่ได้วางแผนไว้ ส่งเสริมให้นักเรียนถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับจากการทำโครงงานให้กับคนอื่น ๆ
คำถามในแบบประเมินออนไลน์ นักเรียนจดบันทึกผลของโครงงานในรูปแบบใด (ภาพวาด ภาพถ่าย แบบบันทึกผลกิจกรรม แฟ้มสะสมผลงาน บันทึกเป็นวิดีโอ/บันทึก สมุดบันทึกการเรียนรู้) การพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ หรือไม่ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมหรือไม่ มีการใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนหรือไม่
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน ความเป็นโครงงาน มีคำถามย่อย กล่าวคือ คำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ เพื่อตอบคำถามหลัก ใช้วัฎจักรวิจัย ในการสำรวจตรวจสอบ อย่างน้อย 2 รอบ คะแนนพิเศษ (3 คะแนน)
ที่มาของคำถาม
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน ที่มาของคำถามในการสำรวจตรวจสอบ มาจากครู 1 คะแนน มาจากนักเรียนและครูร่วมกัน 2 คะแนน มาจากนักเรียน 3 คะแนน
ตั้งคำถาม สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน ตั้งคำถาม ทำการทดลอง/ค้นคว้า อภิปราย สิ่งที่ได้เรียนรู้ สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ บันทึกผล
กระทง
เทียนชนืดใดจุดติดได้นาน กระทงหลงทาง เทียนชนืดใดจุดติดได้นาน วัสดุใดที่ทำฐานกระทงได้บ้าง ประเพณีลอยกระทงมีที่มาอย่างไร รูปทรงใด รับน้ำหนักได้ดีที่สุด กระทงรับน้ำหนักได้มากที่สุดเท่าใด องค์ประกอบที่สำคัญของกระทงมีอะไรบ้าง ประเทศใดที่มีการลอยกระทงบ้าง
ดินน้ำมัน
ดินน้ำมัน ดินน้ำมันทำจากอะไร ทำดินน้ำมันใช้เองทำได้อย่างไร ดินน้ำมันมีประโยชน์อย่างไรบ้าง เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้เก็บได้นาน ดินน้ำมันที่ทำขึ้นเองสามารถปั้นได้ดีเท่ากับดินน้ำมันที่ซื้อมาหรือไม่
ดินน้ำมันทำจากอะไร
นักเรียนคิดว่าดินน้ำมันทำจากอะไร กลิ่นของดินน้ำมันเหมือนกับอะไร ลักษณะของดินน้ำมันคล้ายกับอะไร รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน
ดินน้ำมันทำจากอะไร ทำการทดลอง/ค้นคว้า เราจะหาคำตอบได้จากแหล่งใด สืบค้นร่วมกับผู้ปกครอง ดูวีดีทัศน์ หรือ เยี่ยมชมโรงงาน เชิญผู้เชี่ยวชาญมาเล่าประสบการณ์ ดินน้ำมันทำจากอะไร ทำการทดลอง/ค้นคว้า
เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน
รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน นักเรียนเก็บดินน้ำมันอย่างไร ควรเก็บดินน้ำมันไว้ที่ไหน (ตากแดด ในร่ม) อุณหภูมิที่เหมาะสมควรเป็นเท่าไหร่ รวบรวมความคิด และตั้งสมมติฐาน
ตั้งสมมติฐาน รวบรวมความคิด และ เราจะทดสอบอะไรบ้าง ดินน้ำมันที่ห่อด้วยพลาสติกจะอยู่ได้นานกว่าดินน้ำมันที่วางไว้โดยไม่ห่อ ดินน้ำมันที่เก็บในที่ร่มไม่ตากแดดจะอยู่ได้นานกว่าที่ตากแดด เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน รวบรวมความคิด และ ตั้งสมมติฐาน
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน การออกแบบการสำรวจตรวจสอบ ครูออกแบบให้ 1 คะแนน นักเรียนมีส่วนร่วม 2 คะแนน นักเรียนออกแบบเอง 3 คะแนน
ทดลอง/ค้นคว้า เราจะออกแบบการทดลองอย่างไร มีอะไรที่ต้องเหมือนกันในการทดลอง มีอะไรที่แตกต่างกัน บอกได้อย่างไรว่าดินน้ำมันยังมีสภาพที่ดี เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน ทดลอง/ค้นคว้า
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน การดำเนินการสำรวจตรวจสอบ ครูดำเนินการ 1 คะแนน นักเรียนและครูร่วมกัน 2 คะแนน นักเรียนปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 3 คะแนน แสดงหลักฐาน (ภาพถ่าย)
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน การส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2 ทักษะ 1 คะแนน 3 ทักษะ 2 คะแนน ตั้งแต่ 4 ทักษะ 3 คะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา การคำนวณ การลงความเห็นจากข้อมูล
สเปสกับสเปส และ สเปสกับเวลา อธิบายลักษณะของวัตถุสองมิติและสามมิติ วาดรูปสองมิติ จากวัตถุสามมิติ ระบุรูปทรงเรขาคณิตของวัตถุ บอกความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุกับเวลาหรือขนาด น้ำตาลก้อนเปลี่ยนไปอย่างไร ในเวลาเปลี่ยนไป
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การลงความเห็นจากข้อมูล การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกำหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง (ออกแบบ ปฏิบัติ บันทีก) การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
ปริมาณน้ำตาลที่ละลาย พยากรณ์ การทำนายผลที่อาจจะเกิดขึ้นบนข้อมูลที่มี เช่น ถ้าใช้น้ำร้อนน้ำตาลจะละลายได้มากที่สุดกี่ก้อน อุณหภูมิของน้ำ น้ำเย็น น้ำธรรมดา ปริมาณน้ำตาลที่ละลาย 2 5
สมมติฐาน การหาคำตอบไว้ล่วงหน้าก่อนการทดลอง น้ำแข็งที่ทุบละเอียดจะหลอมเหลวได้เร็วกว่าน้ำแข็งก้อน น้ำแข็งที่เก็บในกระป๋องพลาสติกจะละลายได้ช้ากว่าน้ำแข็งที่เก็บในกระป๋องโลหะ
การกำหนดนิยามเชิงปฎิบัติการ การอธิบายความหมาย ขอบเขต ของตัวแปร น้ำแข็งหลอมเหลวได้เร็ว คืออะไร วัดอย่างไร เปรียบเทียบเวลาเมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวจนหมดก้อน เปรียบเทียบปริมาณน้ำที่หลอมเหลวจากน้ำแข็ง ในเวลา 30 วินาที ดินน้ำมันสภาพดี คือ อะไร เมื่อนำมาคลึงหรือปั้น ไม่มีรอยแตกหรือหัก
การกำหนดและควบคุมตัวแปร การบ่งชี้และระบุชนิดของตัวแปร ตัวแปรต้น - ตัวแปรใดที่เราต้องการจะศึกษา ตัวแปรตาม - ผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรต้น ตัวแปรควบคุม - สิ่งใดที่เราต้องควบคุมให้เหมือนกัน น้ำแข็งจะหลอมเหลวได้ดีที่อุณหภูมิสูง
พัฒนาการ 4 ด้าน การเรียนรู้ การเคลื่อนไหว ภาษา สังคม
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน การส่งเสริมพัฒนาการ อย่างน้อย 2 ด้าน 1 คะแนน 3 ด้าน 2 คะแนน ครบ 4 ด้าน 3 คะแนน
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน การบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบ ไม่สอดคล้อง 0 คะแนน สอดคล้อง 1 คะแนน สอดคล้องและนำเสนอน่าสนใจ 2 คะแนน
สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ เก็บดินน้ำมันอย่างไรให้ไว้ได้นาน ขณะที่ทำการทดลองสังเกตเห็นอะไรบ้าง ดินน้ำมันที่ตากแดดมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร สังเกตและ บรรยายสิ่งที่พบ
บันทึกผล ผลที่เกิดขึ้นจากการทดลอง ควรบันทึกอะไรบ้าง บันทึกรูปแบบใด ออกแบบการบันทึกอย่างไร ที่นำไปสู่การลงข้อสรุป บันทึกผล
ปริมาณน้ำที่หลอมเหลวจากน้ำแข็งก้อนในเวลา 2 นาที ทุบหยาบ ทุบละเอียด
จำนวนก้อนน้ำตาลที่ละลายได้ในตัวทำละลายต่าง ๆ
จำนวนแมลงชนิดต่าง ๆ ที่พบในนาข้าว ตั๊กแตก แมลงวัน เพลี้ย แมลงนูน มวนง่าม
ปลาที่พบในอ่างเก็บน้ำและน้ำตก ปลาดุก ปลาหลด ปลาพลวง ปลาแรด ปลาซิว ปลาซ่อนทราย ปลาหมอ ปลานิล
ทิศทางที่กระแสลมพัดผ่าน
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน การสรุปผลการสำรวจตรวจสอบ ครูสรุป 1 คะแนน ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป 2 คะแนน นักเรียนสรุป 3 คะแนน สรุปจากผลที่ได้จากการทดลอง
น้ำตาลละลายได้ดีที่สุดในน้ำโซดา รองลงมาคือ น้ำเปล่า น้ำมะนาว น้ำปลา ตามลำดับ น้ำตาลละลายได้แตกต่างกันในของเหลวต่างชนืดกัน
เกณฑ์การพิจารณาโครงงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คัดลอกจากบุคคลอื่น ปรับตก นำหัวข้อโครงงานมาจากแหล่งอื่น 1 คะแนน ริเริ่มหัวข้อโครงงานเอง 2 คะแนน ริเริ่มเอง น่าสนใจ แปลกใหม่ 5 คะแนน หัวข้อโครงงานที่น่าสนใจ คือ เกิดจากคำถามและความอยากรู้ของเด็ก
เว็บไซต์ในการลงทะเบียนประเมินผล www.lsh-school.com