งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Collaborative problem solving

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Collaborative problem solving"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ (Collaborative Problem Solving)

2 Collaborative problem solving
ความสามารถในการเข้าร่วม ในกระบวนการแก้ปัญหาของกลุ่ม ที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการแบ่งปันความรู้ ความเข้าใจ ที่มี และรวบรวมความรู้ ทักษะและ ความพยายามเข้าด้วยกันเพื่อแก้ปัญหา

3 Collaborative problem solving
องค์ประกอบและกรอบโครงสร้างการประเมิน การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ พื้นฐานของนักเรียน ความรู้ที่ติดตัวมา บุคลิกลักษณะ สมรรถนะ การสร้างและรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน การเลือกวิธีดำเนินการที่เหมาะสม การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม บริบท ลักษณะของงาน การใช้สื่อ โครงของปัญหา องค์ประกอบของกลุ่ม ทักษะ ทักษะความร่วมมือ ทักษะการแก้ปัญหา

4 Collaborative problem solving
การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning)

5 Cooperative Learning แนวคิด/ทฤษฎี ผู้เรียนควรร่วมมือกันในการเรียนรู้มากกว่า การแข่งขัน เพราะการแข่งขันก่อให้เกิดสภาพการณ์ ของการแพ้-ชนะ ต่างจากการร่วมมือกันซึ่งก่อให้เกิด สภาพการณ์ของการชนะ-ชนะ อันเป็นสภาพการณ์ ที่ดีกว่าทั้งทางด้านจิตใจและสติปัญญา 5

6 Cooperative Learning หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1. การเรียนรู้ต้องอาศัยหลักการพึ่งพากัน (positive interdependent) โดยถือว่าทุกคนมีความสำคัญเท่าเทียมกันและจะต้องพึ่งพากันเพื่อความสำเร็จร่วมกัน 2. การเรียนรู้ที่ดีต้องอาศัยการหันหน้าเข้าหากัน มีปฏิสัมพันธ์กัน (face-to- face interaction) เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อมูล และการเรียนรู้ต่างๆ 6

7 Cooperative Learning หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ 3. การเรียนรู้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (social skills) โดยเฉพาะทักษะในการทำงานร่วมกัน 4. การเรียนรู้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing) ที่ใช้ในการทำงาน 5. การเรียนรู้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรือผลสัมฤทธิ์ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถตรวจสอบ วัดประเมินได้ (individual accountability) 7

8 การจัดกิจกรรม การเรียนรู้
Cooperative Learning การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ วิธีการดำเนินการ - การจัดกลุ่ม - การศึกษาเนื้อหาสาระ - การทดสอบ - การคิดคะแนนและให้รางวัล โดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ 5 ประการ

9 Collaborative problem solving
ความสามารถในการเข้าร่วม ในกระบวนการแก้ปัญหาของกลุ่ม ที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการแบ่งปันความรู้ ความเข้าใจ ที่มี และรวบรวมความรู้ ทักษะและ ความพยายามเข้าด้วยกันเพื่อแก้ปัญหา

10 ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา
Cooperative Learning ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา (Problem solving)

11 Problem solving การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการแก้ปัญหา 1. สังเกต : ผู้เรียนศึกษาข้อมูล รับรู้และทำความเข้าใจ ในปัญหาจนสามารถสรุป และตระหนักในปัญหานั้น 2. การวิเคราะห์ : ผู้เรียนได้อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นเพื่อแยกแยะประเด็นปัญหา สภาพ สาเหตุ และลำดับความสำคัญของปัญหา 11

12 Problem solving การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการแก้ปัญหา 3. สร้างทางเลือก : ผู้เรียนแสวงหาทางเลือกในการแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย ซึ่งอาจมีการทดลอง ค้นคว้า ตรวจสอบเพื่อเป็นข้อมูลประกอบ 4. เก็บข้อมูลประเมินทางเลือก : ผู้เรียนปฏิบัติตามแผนและบันทึกการปฏิบัติงานเพื่อรายงานและตรวจสอบ ความถูกต้องของทางเลือก 12

13 Collaborative problem solving
ทำงานร่วมกัน (work together)

14 Collaborative problem solving
ทำอย่างไรครูจึงจะรู้ว่าผู้เรียนทำงานร่วมกัน

15 Collaborative problem solving
สมรรถนะที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ 1.การสร้างและรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน รู้และเข้าใจข้อมูลสำคัญ รวมทั้งจุดแข็งและจุดอ่อนที่สัมพันธ์ กับงานที่ตนเองและเพื่อนร่วมกลุ่มมี สร้างข้อตกลง และทำความเข้าใจปัญหาไปในทิศทางเดียวกัน สื่อสารกับเพื่อนร่วมทีมเกี่ยวกับสิ่งที่กระทำ หรือลงมือกระทำ ตรวจสอบ ติดตามและแก้ไขและรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน ตลอดการทำภารกิจ 15

16 Collaborative problem solving
สมรรถนะที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ 2.การเลือกวิธีการดำเนินการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา เข้าใจปัญหาและรู้แนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย มีการสื่อสารในกลุ่มระหว่างทำงานร่วมกันโดยใช้การอธิบาย การอภิปราย การต่อรอง การให้เหตุผล และการโต้แย้ง ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ร่วมกันตามบทบาทหน้าที่ของตน ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินความสำเร็จของการแก้ปัญหา 16

17 Collaborative problem solving
สมรรถนะที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ 3.การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนและเพื่อนร่วมกลุ่ม รวมทั้งเฝ้าติดตามและรักษากฎระเบียบที่มีร่วมกัน สื่อสารและถ่ายทอดข้อมูลที่สำคัญ ตลอดจนปัญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นกับเพื่อนร่วมกลุ่ม ตรวจสอบ ติดตาม สะท้อนผลและปรับโครงสร้างของทีม 17

18 Collaborative problem solving
กิจกรรมที่ 3.2 ศึกษาสถานการณ์ บันทึกความคิดเห็นหรือประเด็น ลงในแบบบันทึก 18

19 Collaborative problem solving
แบบบันทึกกิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรม/วิธีการ วิธีการ/รูปแบบ เทคนิคการเรียนรู้ สถานการณ์ สื่อนวัตกรรม เทคนิค แหล่งการเรียนรู้ ลักษณะของภาระงาน การตัดสินใจเป็นกลุ่ม ; การโต้เถียง ขัดแย้ง การยอมประนีประนอม การประสานในกลุ่ม ; การทำงานร่วมกันหรือแก้ปัญหาแบบจิกซอร์ ข้อมูลสำคัญถูกเปิดเผย เพื่อแบ่งปันร่วมกัน การสร้างชิ้นงาน ; กลุ่มจะช่วยกันสร้างชิ้นงาน สมรรถนะ การสร้างและรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน การเลือกวิธีดำเนินการที่เหมาะสม การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม บทบาทนักเรียน อธิบายแต่ละสมรรถนะว่านักเรียนมีบทบาทอะไรบ้าง บทบาทครู บันทึกบทบาทของครูแต่ละกิจกรม/งาน /แต่ละสมรรถนะ ครูมีบทบาทอะไร

20 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt Collaborative problem solving

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google