การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แนวทางการจัดเวทีการขับเคลื่อนการทำงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ปี 2559
กลุ่มเกษตรกร.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
จังหวัด พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูล ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ข้าว
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ (Rice Analysis) เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดสุโขทัย

การบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์และแก้ไขปัญหาความยากจน การบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน การวิจัยและพัฒนา(R&D)และโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน วิจัยความ ต้องการข้าว ของตลาด ภายใน ประเทศและ ต่างประเทศ มีการวิจัยและ พัฒนาพันธุ์ข้าว ที่เหมาะสมและ เป็นแหล่งผลิต พันธุ์ข้าว คุณภาพดีและ ทนต่อโรค พัฒนาปัจจัยการ ผลิตที่มีความ ปลอดภัยจาก การใช้สารเคมี การบริหารระบบ นิเวศน์ในนาข้าว การพัฒนา ดัดแปลงและ เลือกใช้ เทคโนโลยีที่ ทันสมัยและ เหมาะสมกับการ ผลิตข้าวทั้ง กระบวนการ ส่งเสริมการผลิต ข้าว สนับสนุน เกษตรกรใน ระบบการผลิต ข้าวที่ได้ มาตรฐานอย่าง ต่อเนื่อง เกษตรกรมี แผนการผลิต และแผนการเก็บ เกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Zoning and planning) เกษตรกรมี ความสามารถใน การจัดการ วัตถุดิบเหลือใช้ จากการปลูก ข้าวให้เกิด ประโยชน์ ส่งเสริมการ รวมกลุ่มสหกรณ์ การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรือกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน เพื่อถ่ายทอด ความรู้ด้านการ บริหารจัดการ ธุรกิจการเกษตร ตามหลัก เศรษฐกิจ พอเพียง พัฒนาให้เป็น ศูนย์การเรียนรู้ และการ ถ่ายทอด เทคโนโลยีการ ผลิตข้าว ทั้ง กระบวนการ มีเครือข่าย สถาบันการเงิน/ กองทุนเพื่อ ช่วยเหลือด้าน การเงินให้ เกษตรกรที่ปลูก ข้าว โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มี จำนวนเพียงพอ และได้รับการ เตรียมความพร้อม เข้าสู่มาตรฐาน สำหรับการสีข้าว ใช้เทคโนโลยีเพื่อ รักษาคุณภาพ ข้าวหลังการเก็บ เกี่ยว ผลผลิตข้าวได้รับ การรับรอง มาตรฐาน GAP/ GMP/ HACCP เทคโนโลยีการ บรรจุหีบห่อเพื่อ รักษาคุณภาพและ ยืดอายุข้าว การแปรรูปสินค้า ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น (Value Creation) ส่งเสริมศูนย์ รวบรวมและ กระจายสินค้า ข้าวในระดับ จังหวัดและระดับ กลุ่มจังหวัด การใช้ระบบการ ขนส่งข้าวที่ เหมาะสมมี คุณภาพและมี ประสิทธิภาพ ตั้งแต่แหล่งผลิต ไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บ สินค้าจนถึง ตลาด มีระบบตลาด กลางสินค้าข้าวที่ ได้มาตรฐาน มีระบบตลาดซื้อ ขายข้าวล่วงหน้า มีการ ประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริม การขายที่ เหมาะสมกับ แผนการผลิตและ แผนการเก็บเกี่ยว การจัดการข้อมูล การตลาด (Market Intelligence Unit) อย่างมี ประสิทธิภาพ พัฒนาขีด ความสามารถใน การแข่งขันทาง การตลาด มีตราสัญลักษณ์ บรรจุภัณฑ์ข้าว เป็นเอกลักษณ์ ของจังหวัด

ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวจังหวัดสุโขทัย การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ Value Chain การบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน VC2 : การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพและลดต้นทุน   CSF 2.1 การส่งเสริมการผลิตข้าว KPI 2.1-1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนเกษตรกรและพื้นที่ปลูกข้าว Data2.1.1 จำนวนเกษตรกรที่ปลูกข้าวในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา มี รายงาน รายปี เกษตรจังหวัดสุโขทัย Data2.1.2 จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา Data2.1.3 ร้อยละของพื้นที่ปลูกข้าวเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมดของจังหวัด Data2.1.4 ผลผลิตต่อไร่ของการปลูกข้าว ในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา CSF 2.2 สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เช่น การอบรม สาธิต ดูงานด้านการใช้พื้นที่เพาะปลูก การพัฒนาคุณภาพดิน แหล่งน้ำที่ปลอดภัยจากสารเคมี การเพิ่มผลผลิต และการลดต้นทุน เป็นต้น KPI 2.2-1 จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบการผลิตข้าวให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน Data2.2.1 จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบการผลิตข้าวให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน GAP หรือที่เทียบเท่า GAP ของจังหวัด ทะเบียน KPI 2.2-2 มูลค่าการค้าข้าวของจังหวัดเพิ่มขึ้น Data2.2.2 จำนวนผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่ ในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา Data2.2.3 มูลค่าการค้าข้าว Data2.2.4 จำนวนค่าใช้จ่ายในการเพาะปลูกข้าวเฉลี่ยต่อไร่ในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา KPI 2.2-3 จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวที่เข้าร่วมโครงการปลูกข้าวของจังหวัดได้รับการรับรองคุณภาพข้าวตามมาตรฐาน Data2.2.5 จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวที่เข้าร่วมโครงการปลูกข้าวของจังหวัดที่ได้รับการรับรองคุณภาพข้าวตาม มาตรฐาน GAP หรือเทียบเท่า GAP ของจังหวัด Data2.2.6 ปริมาณการใช้ปุ๋ยอินทรีย์/ไร่ (กก.) ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวจังหวัดสุโขทัย Data2.2.7 ปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี/ไร่ (กก.)

การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ตารางที่ 1 : ข้อมูลผลิตภัณฑ์ข้าวของจังหวัดสุโขทัย ระหว่างปีพ.ศ. 2553 – 2556 ข้อมูล ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวนาปี (ไร่) 1,270,050 1,303,143 1,384,485 1,258,844 จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง (ไร่) 659,676 865,155 1,034,746 873,630 จำนวนผลผลิตข้าวนาปี (ตัน) 900,481 887,582 713,826 924,413 จำนวนผลผลิตข้าวนาปรัง (ตัน) 85,369 76,153 82,157 85,687 จำนวนผลผลิตข้าวนาปีเฉลี่ยต่อไร่ (กก) 709 681 516 734 จำนวนผลผลิตข้าวนาปรังเฉลี่ยต่อไร่ (กก) 773 569 673 502 ต้นทุนการปลูกข้าวเฉลี่ยต่อไร่ (บาท) ข้าวนาปี 2,296 2,954 2,387 - ข้าวนาปรัง 2,858 3,158 3,065 จำนวนโรงสีข้าว 23 24 27 ราคาข้าวเปลือกเฉลี่ย (บาท/ตัน) 8,110.8 8,153.2 10,898.6 11,180.3 7,708.7 8,530.2 10,141.5 11,309.6 ภาพรวมของข้าว จังหวัดสุโขทัยมีพื้นที่ปลูกข้าวรวมทั้งหมดประมาณ 2.1 ล้านไร่ ให้ผลผลิตรวมประมาณ 1.0 ล้านตันต่อปี หรือให้ผลผลิตเฉลี่ย 669 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนเฉลี่ยของการปลูกข้าวนาปรังประมาณ 2,726 บาทต่อไร่ โดยมีแนวโน้มไม่แน่นอน ในขณะที่ราคาขายเฉลี่ยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ในจังหวัดสุโขทัยมีการแปรรูปขั้นต้นหรือโรงสีข้าวประมาณ 27 แห่ง

การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ แผนภาพที่ 1 : แนวโน้มผลผลิตข้าวและพื้นที่การเพาะปลูก ระหว่างปี 2551-2556 แผนภาพที่ 2 : แนวโน้มราคาการรับซื้อข้าว (บาทต่อตัน) ระหว่างปี 2551-2556 ราคารับซื้อข้าว/บาทต่อตัน ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย ที่มา : สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสุโขทัย ในส่วนการวิเคราะห์และนำเสนอสถานการณ์ของยุทธศาสตร์จังหวัด ให้ตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) นั้น สำนักงานสถิติจังหวัดสุโขทัยเลือกข้อมูลที่มีการจัดเก็บในปัจจุบันมานำเสนอในเชิงแผนภาพเพื่อบ่งชี้แนวโน้มหรือทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ โดยนำเสนอกรอบการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ

สรุปประเด็นที่สำคัญต่อยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ กราฟแสดงผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่ และมูลค่าการค้าข้าว สรุปประเด็นที่สำคัญต่อยุทธศาสตร์ จาก 9 อำเภอ พบว่า ทุกๆ อำเภอจังหวัดสุโขทัยมีผลผลิต/ไร่สูงสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ (466 กิโลกรัมต่อไร่) ดังนั้นควรมีปรับปรุงคุณภาพของพันธ์ข้าว เพื่อให้บรรลุตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์คือ การบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน

การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ พื้นที่ที่เหมาะสมปลูกข้าว อย่างเช่น อ. กงไกรลาศ อ. ศรีสำโรง อ. สวรรคโลก ควรมีการปรับปรุงคุณภาพผลผลิต (ข้าว) เพื่อทำให้เป็น สินค้า (ข้าว) ที่มีคุณภาพ

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (flagship Project) การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) โครงการสำคัญ /มาตรการ พื้นที่ปลูกข้าว มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากนโยบาย Zoning โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวพันธุ์ดี มูลค่าผลผลิตมีแนวโน้มสูงขี้น

เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวพันธุ์ดี วัตถุประสงค์/เป้าหมาย 1.เพื่อผลิตข้าวคุณภาพสูงเพื่อขยายตลาดในระดับที่มีความต้องการและสามารถซื้อได้ 2. เพื่อส่งเสริมการผลิตข้าวให้ตรงกับความต้องการบริโภค กิจกรรมหรือแนวทางโครงการ 1. ศึกษาวิจัยพันธุ์ข้าวคุณภาพดี ที่เป็นที่ต้องการของตลาด ที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดสุโขทัย 2. อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร ในการปลูกข้าวพันธุ์ดี 3. หาตลาดรองรับสินค้า

จบการนำเสนอ