การประชุม เจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ 6 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
WORKSHOP TASK1 การจัดทำ Individual Scorecard
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 13 ตุลาคม 2559
การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ทิศทางการดำเนินงานของศูนย์อนามัยที่ 6
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุม เจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ 6 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 ณ ห้องประกายพฤกษ์ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ณ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริบทสุขภาพคนไทย บริบทสุขภาพคนไทย ความเป็น สังคมเมือง สังคมผู้สูงอายุ โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความก้าวหน้า Technology

P eople centered approach M astery Retreat MOPH ทิศทางกระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน H umility O riginality P eople centered approach M astery เร่งสร้างสิ่งใหม่ เป็นนายตนเอง MOPH ใส่ใจประชาชน อ่อนน้อมถ่อมตน เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

แผน 20 ปี กสธ. ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) สู่ความยั่งยืน นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข ประเทศไทย 4.0 แผนปฏิรูป ประชารัฐ กรอบแนวคิด ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564) สู่ความยั่งยืน Phase3 (2570-2574) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 (2565-2569) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 (2575-2579)

เป็นองค์กรหลักของประเทศใน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 กรมอนามัย ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี Health Model เป็นต้นแบบสุขภาพ Ethics มีจริยธรรม Achievement มุ่งผลสัมฤทธิ์ Learning เรียนรู้ ร่วมกัน Trust เคารพและเชื่อมั่น Harmony เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน HEALTH ประชาชนสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายและเจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบอนามัยยั่งยืน (ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

Retreat DOH ทิศทางกรมอนามัย Dream Design Drive Dream Design Drive Re-role Re-structure Re-treat Re-role Re-structure Head Heart Hands Head Heart Hands Lead Lean Learn Lead Lean Learn Retreat DOH 6

ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues) 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม 3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล

เป็นองค์กรหลักของประเทศใน S1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 4 ยุทธศาสตร์ 12 เป้าหมาย 21 ตัวชี้วัด ประเด็นเน้นหนัก ปี 2560 - 2564 เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี S1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย s2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน s3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม s4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล แม่ และเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ G4 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ G1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย G5 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม G8 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน Active Communities) G9 ภาคีเครือข่ายภาครัฐร่วมด้าเนินการ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม G7 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี G10 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) G6 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี KPI 19จำนวนงานวิจัยและนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ระดับนโยบาย (กระทรวง)และกลไกการขับเคลื่อนนโยบาย (เขตสุขภาพ) KPI 1 อัตราส่วนมารดาตายต่อการเกิดมีชีพแสนคน KPI7 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อปชก.หญิงอายุ 15-19 ปี พันคน G2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย KPI 5 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ KPI 11 ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ KPI 13 อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) KPI 8 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี ต่อปชก.หญิงอายุ 10-14 ปี พันคน KPI 17 ร้อยละของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ และดำเนินการจนได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด G11 เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) KPI 2 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสมวัย KPI15 ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพ ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน KPI 20การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) G3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน ยุทธศาสตร์ (PIRAB) มี 5 ประการ คือ 1) Partners ภาคี  2) การลงทุน (Invest)  3) Regulations คือ เรื่องการใช้ตัวบทกฎหมาย 4) เรื่องตีฆ้องร้องป่าว ต้องทำให้มากขึ้น (Advocacy) และ 5) Building capacity เรื่องการฝึกอบรม  KPI 6 ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ด้านการบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย และทันตสุขภาพ KPI 9 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี KPI 12 ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ KPI 3 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี G12 เป็นองค์กรที่มี ธรรมาภิบาล KPI 14 ร้อยละของกลุ่มผู้สูงอายุ มีฟันแท้อย่างน้อย 24 ซี่ KPI 18 ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ KPI 10ร้อยละของวัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ และฟันไม่ผุ KPI16 จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการเฝู้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม KPI 21คะแนนการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ตามระบบ ITA โดย ปปท. KPI 4 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปีฟันไม่ผุ P I R A B H E A L T H

Inform, educate, and empower people about Health & Env.H. issues ระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม คนไทยมีอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 72 ปี (HALE) ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Community) A2 I M. (3ป 1บ) Assessment Advocacy Intervention Management/ Governance (Regulate & Technical Support) (ประเมิน) (เป็นปากเป็นเสียง) (ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ & อวล) (บริหาร/อภิบาล) Investigate Diagnosis Classified ระดับประเทศ/กระทรวง ระดับเขต/จังหวัด/ อำเภอ ระดับท้องถิ่น/ชุมชน - เป้าหมายอนาคตของถนนชีวิต และสุขภาพ 5 กลุ่มวัย - High touch & tech in PA , Nutrition, Oral Health Promote to Excellence Inform, educate, and empower people about Health & Env.H. issues - Mobilize community partnership s and actions to identify and solve Health & Env.H. problem เครือข่าย ระดับนโยบาย Model Development Health &En.H. Provincial Profile Healthy Settings Health& Env.H.City Profile Monitor EHA Normal - Assure Quality of service ( Health Promotion & Env.) - Improve accessibility - Law & Regulation Protection Policy + Law ระบบประเมินรับรอง Health Promotion & Env. Surveillance Data & Information Analysis Prediction Health & Env.H. status & situation By กระทรวงสาธารณสุข RISK สสส. สช. คร. สปสช. สบส. เขตสุขภาพ/ศอ. อสธจ. อปท. Eliminate Reduction ตำบลบูรณาการ - Appropriate Health Behavior, and lifestyle - PA - Target - Nutrition - Target - Env. -> Intervention -  Morbidity & Mortality in all group ILL รพ.สต. อสม./ แกนนำ ชุมชน DOH (EnH Cluster + 5 กลุ่มวัย Cluster) Strategy -Technical Support โดยการ t Regulate เฝ้าระวัง 6 Cluster (5 กลุ่มวัย + อนามัยสิ่งแวดล้อม) 5 มิติ (Risk factor, Protective factor, Promoting intervention, Health outcome, Life impact) 36 ตัวชี้วัด เช่น มารดาตาย, พัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน, คลอดซ้ำในวัยรุ่น, BMI ปกติ, พฤติกรรมที่เหมาะสม, การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ … ect สสจ. DHS สสอ./ รพช. Support/ Regulate Regulate Support/ Improve Maintain ภาคีเครือข่ายระดับท้องถิ่น/ชุมชน ภาคีเครือข่ายระดับเขต/จังหวัด - Specific age group Health Promotion Program - Appropriate Health Behavior and lifestyle - PA - Target - Nutrition – Target - Env. -> Intervention Morbidity & Mortality in all group Build Capacity

Life Course Approach to Health (Partnership) I (Investment) R (Regulation) A (Advocacy) B (Building Capacity)

ณ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ณ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

ก่อนจะมาเป็น.....ศูนย์อนามัยที่ 6 Retreat ก่อนจะมาเป็น.....ศูนย์อนามัยที่ 6 2536 ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 3 ที่ตั้งสำนักงาน ต.บางปลาสร้อย อ. เมือง จ.ชลบุรี 2545 เปลี่ยนชื่อเป็น ”ศูนย์อนามัยที่ 3 (รวมงานสุขาภิบาลอาหาร +ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ) 2546 ศูนย์อนามัยที่ 3 (ย้ายที่ตั้งสำนักงานมาที่ 43 หมู่ 7 ต.นาป่า อ.เมือง จ.ชลบุรี) 2559 ศูนย์อนามัยที่ 6

แผนที่ยุทธศาสตร์ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรธรรมาภิบาลที่มีความเป็นเลิศด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายในปี 2564 ค่านิยมองค์กร : HEALTH [Health, Ethic, Achievement, Learning, Thust, Harmony] พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร ตามหลักธรรมา ภิบาล โดยการมีส่วนร่วม พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ พร้อมด้วยจริยธรรม คุณธรรม พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพ & อนามัยสิ่งแวดล้อม แบบบูรณาการ พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศ และเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ คุณภาพ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีนวัตกรรม&เทคโนโลยี&องค์ความรู้ ด้าน สส.&สวล. ที่เหมาะสมกับบริบท ประสิทธิผล มีระบบการจัดการสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย มีความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการจัดการสุขภาพ ประสิทธิภาพ บุคลากรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการองค์กร มีระบบการบริหารจัดการที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ พัฒนาองค์กร บุคลากรเป็น มืออาชีพด้านวิชาการ บุคลากรมีจริยธรรม คุณธรรม ความผาสุก เป็นศูนย์ฝึกอบรม & องค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็นคลังข้อมูล ด้านสส.&สวล.

สุขภาวะของประชาชน ในเขตสุขภาพที่ 6 การนำองค์กร กบศ/อก. IT&KM IT/บย./จก. บุคลากร HR/รพ.สส.&จศ. กระบวน การ คกก.พัฒนาองค์กร การวางแผน กวป./กพว./บย. ลูกค้า/ผู้มีส่วนได้ เสีย ผลลัพธ์ เขตสุขภาพ & ภาคีเครือข่าย สุขภาวะของประชาชน ในเขตสุขภาพที่ 6 เป็นองค์กรธรรมาภิบาลที่มีความเป็นเลิศด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายในปี 2564 พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบ สส.&สวล. พัฒนาระบบการจัดการข้อมูล Leadership & Governance Health workforce Technology Health information Health financing Health service ออกแบบกระบวนการภายในของหน่วยงานเพื่อรองรับการ Change ของหน่วยงาน สู่เป้าหมายโดย ใช้แผนยุทธศาสตร์ 4 เสาหลักเป็นกรอบในการขับเคลื่อนและใช้ PMQA ทั้ง 7 หมวด เป็นฐานในการพัฒนากระบวนการดำเนินงานภายในให้มีคุณภาพ ในแต่ละหมวดมีคณะกรรมการคร่อมสายงาน ทำหน้าที่ในการผลักดันให้เกิดการดำเนินงานอย่างชัดเจน และใช้กรอบของ 6 building box เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม และแต่ละยุทธศาสตร์ กำหนดให้มีผู้ทำหน้าที่ในการควบคุมกำกับให้บรรลุตามเป้าประสงค์ของแต่ละยุทธศาสตร์ เพื่อนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรธรรมาภิบาลที่มีความเป็นเลิศด้านการส่งเสริมสุขภาพ” PMQA ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

บทบาทของศูนย์อนามัย กับเขตสุขภาพ Re-role บทบาทของศูนย์อนามัย กับเขตสุขภาพ Regulator / RHA (Regional Health Authority)

ภาคี กลไกการขับเคลื่อนงาน สส.&สวล.ศูนย์อนามัยที่ 6 (CBP) DHS ศอ.6 INPUT PROCESS OUTPUT OUTCOME นโยบาย กสธ./กรม อ. อปสข. DATA ตรวจราชการ 43 แฟ้ม/HDC สำรวจ/ประ เมิน/เฝ้าระวัง ภาคี สพป พม ชุมชน อปท อสม ชมรมฯ เอกชน อื่นๆ CIO/ST DHS กก.เขต สุขภาพ 6BB+ กก.เขต สุขภาพ 5 กลุ่มวัย ศอ.6 6 cluster ของศูนย์ Empowerment Participation Regional Lead Access of service Quality of service Reduce risk Improved health ภัยทางสุขภาพ Public health policy, Health ENV, Healthy city, Health literacy, Self care , Essential care Lead Lean Learn Surveillance Ottawa Bangkok Service Plan CIO = Chief information officer (รับผิดชอบเรื่องแผน และ ข้อมูล) CSO = Chief service office (รับผิดชอบงานบริการ) Field Res. PP intervention R&D กก.อื่นๆ Clinical Res. Techno” transfer ศูนย์วิชาการ สสจ. M&E

โครงสร้างศูนย์อนามัยที่ 6 บริการส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ Restructure โครงสร้างศูนย์อนามัยที่ 6 ศูนย์อนามัยที่ 6 ภารกิจสนับสนุน กลุ่มอำนวยการ ภารกิจวิจัยพัฒนาและ สนับสนุนเขตสุขภาพ 1. กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และพัฒนากำลังคน 2. กลุ่มพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก 3. กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ วัยเรียน 4. กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น 5. กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ วัยทำงาน 6. กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ วัยสูงอายุ 7. กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ภารกิจพัฒนารูปแบบ และนวัตกรรม บริการส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

8ขั้นตอนในการบริหารการเปลี่ยนแปลง (John Kotter) Implementing and sustaining the change 8.Make it stick (การคงสภาพ) 7.Don’t let up (ผลักดันต่อเนือง) Create a climate for change 6.Create short-term wins สร้างความสำเร็จเบื้องต้น 5.Enable action (สนับสนุนให้ลงมือทำ) 4.Communicate (สื่อสารภายในหน่วยงาน) Create a climate for change 3.Get a vision right (กำหนดกลยุทธ์การปรับเปลี่ยน) 2.Build guiding teams (สร้างทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลง) 1.Increase urgency (เพิ่มระดับความจำเป็นเร่งด่วน) ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

เป็นองค์กรธรรมาภิบาลที่มีความเป็นเลิศด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายในปี 2563 LEAD ; ข้อมูลที่มีคุณภาพ & การวิจัย & การพัฒนาระบบงาน Regional Lead LEAN ; การถ่ายทอดนโยบายกรมอนามัยสู่พื้นที่ LEARN ; KM & Coaching & Training พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร CCO : อก. พัฒนาศักยภาพบุคลากร CCO : รพ.สส. พัฒนาระบบ สส.&สวล. CCO : สส.&สวล. พัฒนาระบบการจัดการข้อมูล CCO : บย. Leadership & Governance Health service Health workforce Health financing Technology Health information การนำองค์กร การวางแผน ลูกค้า/ผู้มีส่วนได้ เสีย IT&KM บุคลากร กระบวน การ ผลลัพธ์ กบศ/อก. กวป./กพว./บย. คกก.พัฒนาองค์กร กวป./กพว./บย. IT/บย./จก. HR/รพ.สส.&จศ. สส.&สวล./รพ.สส./จศ.

กระบวนการถ่ายทอดนโยบาย สส.&สวล. เดิม ใหม่

การถ่ายระดับตัวชี้วัด ปี 2560 การถ่ายระดับตัวชี้วัด ปี 2560 กรมอนามัย 2.ร้อยละของเด็กอายุ 9,18,30,42 ด.ได้รับการคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) ศูนย์อนามัย ที่ 6 3.ร้อยละของเด็กอายุ 9,18,30,42 ด.ได้รับการคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) ได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลตามบทบาท/หน้าที่/CBP -13.ร้อยละของรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรม -14.ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส(EBIT -15.ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวมและรายจ่ายลงทุน Cluster แม่และเด็ก 1. Functional Based 4.ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ตัวชี้วัดร่วม Cluster/System 5.ร้อยละของตำบลที่มีระบบการ สส. ดูแล ผสม. (LTC)ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ Cluster ผู้สูงอายุ 2. Agenda Based งานที่ต้องการพัฒนา รูปแบบ มาตรฐาน (ตัวชี้วัดที่ไม่มี Baseline Data) :10.ร้อยละของตำบลต้นแบบบูรณาการฯ ผ่านเกณฑ์ 3. Area Based 6.ร้อยละของเด็ก อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน Cluster วัยเรียน 7.อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี Cluster วัยรุ่น 4. Innovation Based 5. Potential Based 9.ร้อยละของ รพ. ที่พัฒนา สวล.ได้ตามเกณฑ์ G&C Hospital Cluster สวล. 8.ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ -ขอให้ศอ.6 รายงานแต่ไม่นำมาประเมินหน่วยงาน ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ & พัฒนาองค์การ :16.ระดับความสำเร็จของหน่วยงานมีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการหรือนวตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง : คนไทยไร้พุง :18.ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกรอมนามัยสู่องค์กร HPO ตามแนวทาง PMQA 19.ผลงานที่มีความโดดเด่น ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่ เรื่อง:ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมในระดับเขตสุขภาพที่ 6 Cluster วัยทำงาน

ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 6 หนก. สวล. หนก.อก. หนก. รพ.สส. หนก. บย. หนก.พัฒน์ 8 (+1) 13 12 9 15 2 3 4 ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ศอ. 6 ปี 2560 รอบ 5เดือนแรก รับผิดชอบ 15 ตัวชี้วัด สำหรับตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ กรมอนามัย ขอให้ศูนย์รายงานผล แต่ ไม่ประเมินตามคำรับรองฯ 14 18 19 5 6 7 รวม 15 ตัวชี้วัด 10 16 8

การรายงานผลการดำเนินงาน กพร. รอบ 5 เดือนแรก * ส่งคะแนนการประเมินตนเองพร้อมหลักฐานถึงกรม ภายในวันที่ 28 ก.พ.2560 (ไม่มีการส่งหลักฐานตามหลัง) 2.8 – 3.2 %

สาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติ Hot Issue PP Excellent Health Literacy สาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติ

การพัฒนาบุคลากร กลุ่มวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาบุคลากร ผู้บริหารพิจารณา หากเห็นชอบให้การสนับสนุน งปม. ใช้ งปม. 3,000 บาท/คน ความต้องการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

กลไกการขับเคลื่อนงานของศูนย์ แหล่งทุน * สร้างคนต้นแบบ * สร้างพื้นที่ต้นแบบ * พัฒนาศักยภาพ * ประเมินรับรองมาตรฐาน * สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ *ศูนย์วิการ *เขตสุขภาพ * อปท. * ฝ่ายการศึกษา * เขตสุขภาพ * สปสช.เขต 6 ระยอง ภาคีเครือข่าย การขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี Regional Health Authority Research and Development Regional Lead Technology Transfer Surveillance Monitor and Evaluation ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ขอบคุณครับ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี