งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 13 ตุลาคม 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 13 ตุลาคม 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 13 ตุลาคม 2559
ศูนย์อนามัยที่ 5 นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 13 ตุลาคม 2559

2 โครงสร้างองค์กร โครงสร้าง เน้นการวิจัยพัฒนาตามกลุ่มวัย
กลุ่มภารกิจสนับสนุน กลุ่มอำนวยการ ICT และเวชระเบียน กลุ่มภารกิจวิจัยพัฒนาและสนับสนุนเขตสุขภาพ กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก กลุ่มส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน กลุ่มส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น กลุ่มส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน กลุ่มส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และกำลังคน ศูนย์ฝึกอบรมและแพทยศาสตร์ศึกษา กลุ่มภารกิจพัฒนารูปแบบบริการและนวัตกรรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โครงสร้าง เน้นการวิจัยพัฒนาตามกลุ่มวัย ตาม แนวคิด Life course Approach

3 บุคลากร ข้าราชการ 159 พนักงานราชการ 18 ลูกจ้างประจำ 43
ข้าราชการ 159 พนักงานราชการ 18 ลูกจ้างประจำ 43 พนักงานกระทรวง 57 จ้างเหมา 30 รวม 307 สูติแพทย์ 4 , กุมารแพทย์ 1 ,GP 2, ทันตแพทย์ 2, เภสัช 2 คน NICU สามารถรองรับได้ 4 เตียง แต่ขยายได้ถึง 8 เตียง

4 ศุนย์วางบทบาทเป็น Regional Technical Supporter

5

6 Service Centers เป็นศูนย์กลางที่จะพัฒนา ต่อยอดของ Center อื่นๆ

7 Service Centers Service for model Developments
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เน้น Reproductive Health Service คลอดปีละประมาณ 2000 คน Health plaza เปิด น. จันทร์ - เสาร์ผู้รับบริการ 100 คน/วัน Day Care เด็ก 50 คน รูปแบบที่จะพัฒนาในปี 2560 การใช้ progesterone เพื่อลด Pre term พัฒนารูปแบบ คลินิกเตรียมพร้อมสู่วัยรุ่น สำหรับเด็ก ป.5ที่จะฉีดวัคซีน HPV Package 800 บาท /เดือน ใน Health plaza เพื่อ เพิ่มสูง ลดอ้วนในเด็ก โปรแกรมการตรวจสุขภาพในโรงงานโดยใช้ software วิเคราะห์ผลการตรวจ รูปแบบบริการ ในโรงเรียนผู้สูงอายุ เพื่อ “กันลืม กันล้ม กันซึมเศร้า “

8 Training Center ศูนย์ฝึกอบรมและแพทยศาตร์ศึกษา
เป็นศูนย์ฝึกอบรม Residence ปี 1,2 เวชศาสตร์ป้องกัน แขนงสาธารณสุข ของกรมอนามัย ปี 2561 รับฝึกอบรม residence เด็กของจุฬาฯ มาปีละ 4 รุ่น ๆ ละ 1 เดือน ศูนย์ฝึกอบรมให้แก่บุคลากรสาธารณสุข และ อปท. เช่น Care Manager กฎหมายสาธารณสุข ระบาดวิทยาและสถิติ Breast feeding Child development ยาฝังคุมกำเนิด

9 Information Center พัฒนาโปรแกรมเพื่อการเฝ้าระวัง
เฝ้าระวังมะเร็งเต้านม ของโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม (21 จังหวัด) เฝ้าระวังขยะติดเชื้อ เริ่มจากเขต 5 แล้วขยายไปเกือบทุกเขต พัฒนาโปรแกรมเพื่อสนับสนุนบริการ โปรแกรมที่ใช้ใน Fitness โปรแกรม Check up สำหรับการวิเคราะห์ผลการตรวจสุขภาพ และประเมินความเสี่ยง Cardio vascular risk (Farmingham 10 year risk) โปรแกรม Child development Series

10 Research Center Input สำหรับ Research Centers
ต่อยอดการบริการใน Service center เพื่อให้เป็น Model ที่จะนำไปสู่การขยายผล ผ่าน training center นำข้อมูลจาก Information centers มาพัฒนาเป็นองค์ความรู้ เช่น จากการเฝ้าระวังมะเร็งเต้านมใน 21 จังหวัด เขียนเป็นงานวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ร่วมกับสมุดบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เพื่อการคัดกรองมะเร็งเต้านมในประเทศไทย มีการกำหนดหัวข้อการพัฒนารูปแบบ ตาม KPIs ของกรม หรือประเด็นที่เป็นปัญหาของพื้นที่ที่ intervention ยังไม่มีประสิทธิภาพพอ เช่น บริการในคลินิก DPAC ,YFHS เป็นต้น

11 Advocacy Center อยู่ระหว่างการพัฒนา เพื่อจะพัฒนาข้อเสนอแนะทางนโยบาย หรือมาตรการ หรือชุดสิทธิประโยชน์ที่เหมาะสม เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เน้นที่เขต Input ที่จะนำมาใช้เพื่อการ วิเคราะห์และสังเคราะห์ ข้อเสนอแนะ ข้อมูลใน Information Center ข้อมูลใน Research Center ข้อมูลที่ลงพื้นที่โดยทีมจังหวัดของศูนย์ และจากการนิเทศงานร่วมกับคณะตรวจราชการ


ดาวน์โหลด ppt นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 13 ตุลาคม 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google