มาตรฐานวิชาชีพ และการออกใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
Advertisements

โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
วิชาชีพทางการศึกษา 1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา 3. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา 4. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพ สุริยา ( เทพสุริยา ) ( เทพสุริยา ) ส่วนราชการที่รับผิดชอบ ภารกิจการจัดการศึกษาของ อปท. อบจ. เทศบาลอบต. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของ
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
โรงเรียนกับชุมชน.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรฐานวิชาชีพ และการออกใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การเลื่อนขั้นเงินเดือน
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การพัฒนาครูและปฐมนิเทศครูผู้ช่วย (บรรจุใหม่)
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
(Code of Ethics of Teaching Profession)
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานวิชาชีพ และการออกใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ และการออกใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ

กรอบการบรรยาย        กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติตน การประกอบวิชาชีพควบคุม การออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ      

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานวิชาชีพ  พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 (มาตรา 53) พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 

พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 มาตรา 7 ให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า “คุรุสภา” มีฐานะเป็นนิติบุคคลในกำกับ ของกระทรวงศึกษาธิการ

พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 9 กำหนดให้คุรุสภามีอำนาจหน้าที่ 1. กำหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ 2. ควบคุมความประพฤติและการดำเนินงานของผู้ประกอบ วิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณของวิชาชีพ 3. ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอประกอบวิชาชีพ 4. พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

อำนาจหน้าที่ของคุรุสภา (ต่อ) 5. สนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพ 6. ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประกอบ วิชาชีพทางการศึกษา 7. รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรของสถาบัน ต่าง ๆตามมาตรฐานวิชาชีพ

อำนาจหน้าที่ของคุรุสภา (ต่อ) 8. รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้ง ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ 9. ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ 10. เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของ ประเทศไทย 11. ออกข้อบังคับของคุรุสภา ฯลฯ

พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 มาตรา 49 ให้มีข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย (1) มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ (2) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (3) มาตรฐานการปฏิบัติตน

พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 มาตรา 50 มาตรฐานการปฏิบัติตน ให้กำหนดเป็นข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ ประกอบด้วย (1) จรรยาบรรณต่อตนเอง (2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ (3) จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ (4) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ (5) จรรยาบรรณต่อสังคม การกำหนดแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามข้อบังคับของคุรุสภา

มาตรฐานวิชาชีพ (มาตรา 49) ครู ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษาผู้บริหารการศึกษา ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา (มาตรา 49)

มาตรฐานวิชาชีพ : การประกอบวิชาชีพ เข้าสู่วิชาชีพ ขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ - ต่อใบอนุญาต - ประเมินความชำนาญ ตามระดับคุณภาพ - ประเมินความชำนาญเฉพาะด้าน คุณภาพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) - จิตวิญญาณของความเป็นครู - การยอมรับของสังคม เกียรติและศักดิ์ศรี

มาตรฐานความรู้วิชาชีพครู 1. มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือ เทียบเท่า หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ (1) ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู (2) การพัฒนาหลักสูตร (3) การจัดการเรียนรู้ (4) จิตวิทยาสำหรับครู

มาตรฐานความรู้วิชาชีพครู (ต่อ) มาตรฐานความรู้วิชาชีพครู (ต่อ) (5) การวัดและประเมินผลการศึกษา (6) การบริหารจัดการในห้องเรียน (7) การวิจัยทางการศึกษา (8) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา (9) ความเป็นครู

มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพครู ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด ดังต่อไปนี้ 1. การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2. การปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ

มาตรฐานความรู้วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา 1. มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ (1) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา (2) นโยบายและการวางแผนการศึกษา (3) การบริหารด้านวิชาการ (4) การบริหารด้านธุรการ การเงิน พัสดุ และอาคารสถานที่

มาตรฐานความรู้วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา (ต่อ) (5) การบริหารงานบุคคล (6) การบริหารกิจการนักเรียน (7) การประกันคุณภาพการศึกษา (8) การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (9) การบริหารการประชาสัมพันธ์และ ความสัมพันธ์ชุมชน (10) คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร สถานศึกษา 2. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารสถานศึกษาที่คณะกรรมการ คุรุสภารับรอง

มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา 1. มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ 2. มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและต้องมี ประสบการณ์ในตำแหน่งหัวหน้าหมวดหรือ หัวหน้าสาย หรือหัวหน้างานหรือตำแหน่ง บริหารอื่น ๆ ในสถานศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี

มาตรฐานความรู้วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 1 . มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ (1) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา (2) นโยบายและการวางแผนการศึกษา (3) การบริหารจัดการการศึกษา (4) การบริหารทรัพยากร (5) การประกันคุณภาพการศึกษา

มาตรฐานความรู้วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา (ต่อ) (6) การนิเทศการศึกษา (7) การพัฒนาหลักสูตร (8) การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (9) การวิจัยทางการศึกษา (10) คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร การศึกษา 2. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารการศึกษา ที่คณะกรรมการคุรุสภารับรอง

มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา 1. มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 8 ปี หรือ 2. มีประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ 3. มีประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารนอก สถานศึกษาที่ไม่ต่ำกว่าระดับกองหรือเทียบเท่า กองมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี

มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา (ต่อ) 4. มีประสบการณ์ในตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ 5. มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและมีประสบการณ์ ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหาร การศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามที่กำหนด ในกฎกระทรวงรวมกันมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 10 ปี

มาตรฐานความรู้วิชาชีพศึกษานิเทศก์ 1. มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาโททางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ (1) การนิเทศศึกษา (2) นโยบายและการวางแผนการศึกษา (3) การพัฒนาหลักสูตรและการสอน (4) การประกันคุณภาพการศึกษา (5) การบริหารจัดการการศึกษา

มาตรฐานความรู้วิชาชีพศึกษานิเทศก์ (ต่อ) (6) การนิเทศการศึกษา (7) กลวิธีถ่ายทอดความรู้ แนวคิด ทฤษฎี และ ผลงานทางวิชาการ (8) การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (9) คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับศึกษานิเทศก์ 2. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการนิเทศการศึกษา ที่คณะกรรมการคุรุสภารับรอง

มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพศึกษานิเทศก์ 1. มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี หรือมีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอน และประสบการณ์ ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา รวมกันมาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี 2. มีผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพและมีการเผยแพร่

มาตรฐานการปฏิบัติงานของครู ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ 2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะแก่ผู้เรียน 3. มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ 4. พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง 5. พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ 6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน

มาตรฐานการปฏิบัติงานของครู (ต่อ) 7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ 8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน 9. ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 10. ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ 11. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 12. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์

มาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา 1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพการบริหาร การศึกษา 2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับ การพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน 3. มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็มศักยภาพ 4. พัฒนาแผนงานขององค์การให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง 5. พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้น เป็นลำดับ

มาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา (ต่อ) มาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา (ต่อ) 6. ปฏิบัติงานขององค์การโดยเน้นผลถาวร 7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ 8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 9. ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์ 10. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 11. เป็นผู้นำและสร้างผู้นำ 12. สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์

มาตรฐานการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ 1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาการนิเทศการศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา 2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมการนิเทศการศึกษา โดยคำนึงถึงผลที่จะ เกิดแก่ผู้รับการนิเทศ 3. มุ่งมั่นพัฒนาผู้รับการนิเทศให้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจนเกิดผล ต่อการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ 4. พัฒนาแผนการนิเทศให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง 5. พัฒนาและใช้นวัตกรรมการนิเทศการศึกษาจนเกิดผลงานที่มี คุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ

มาตรฐานการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ (ต่อ) 6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ ผู้รับการนิเทศ 7. รายงานผลการนิเทศการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ 8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 9. ร่วมพัฒนางานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ 10. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 11. เป็นผู้นำและสร้างผู้นำทางวิชาการ 12. สร้างโอกาสในการพัฒนางานได้ทุกสถานการณ์

มาตรฐานการปฏิบัติตน ประมวลความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งเป็นการ ประพฤติปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ อันเป็นคุณลักษณะของ ความเป็นครู คุณธรรม จริยธรรมของวิชาชีพ จรรยาบรรณของวิชาชีพ

การประกอบวิชาชีพควบคุม ผู้ประกอบวิชาชีพควบคุม ได้แก่ 1. ครู 2. ผู้บริหารสถานศึกษา 3. ผู้บริหารการศึกษา 4. บุคลากรทางการศึกษาอื่น (ศึกษานิเทศก์)

คุณสมบัติผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี บริบูรณ์ 2. มีวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือ มีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง 3. ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตาม หลักสูตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี และ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่คณะกรรมการ คุรุสภากำหนด

คุณสมบัติผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา บุคลากรทางการศึกษาอื่น (ศึกษานิเทศก์) 1. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. มีความรู้และประสบการณ์วิชาชีพตามที่ คณะกรรมการคุรุสภากำหนด

ผู้ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 1. ผู้มาให้ความรู้เป็นครั้งคราว 2. ผู้ไม่ได้ประกอบวิชาชีพหลักด้านการเรียนการสอนแต่บางครั้งต้องสอน 3. นักเรียน นักศึกษา หรือผู้รับการอบรม หรือผู้ได้รับใบอนุญาตปฏิบัติการสอน 4. ผู้จัดการศึกษาตามอัธยาศัย 5. ผู้ทำหน้าที่สอนในศูนย์การเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฯ 6. ผู้ประกอบวิชาชีพในระดับอุดมศึกษา 7. ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา 8. บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด เช่น  พระภิกษุผู้ทำหน้าที่สอน  ผู้สอนศาสนาอื่น  ผู้สอนตามโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ  ตำรวจตระเวนชายแดนที่ทำหน้าที่สอน  ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานศึกษาเฉพาะทาง

การออกใบอนุญาตครูชาวต่างประเทศ  เป็นครูก่อน พ.ร.บ.สภาครูฯ มีผลใช้บังคับ  เป็นครูตั้งแต่วันที่ พ.ร.บ.สภาครูฯ มีผลใช้บังคับ 1. ปริญญาตรีทางการศึกษา 2. ปริญญาตรีสาขาอื่น + ใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครูจากต่างประเทศ 3. ปริญญาตรีสาขาอื่น + ประกาศนียบัตร บัณฑิตวิชาชีพครู

เกณฑ์การทดสอบและประเมินความรู้ ครูชาวต่างประเทศ 1. ภาษาและวัฒนธรรมไทย 2. จรรยาบรรณของวิชาชีพ 3. ความรู้ในการประกอบวิชาชีพครู

หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บริหารสถานศึกษา เน้นสมรรถนะในการบริหารจัดการสถานศึกษา (Competency Based Curriculum : CBC) 1. เชาว์ปัญญา 2. ความฉลาดทางอารมณ์ 3. ความรู้ในงาน 4. การพัฒนาตน 5. ความตระหนักในตนเอง 6. การสั่งการ 7. การชี้นำ 8. การริเริ่ม 9. มนุษยสัมพันธ์

หลักสูตรการฝึกอบรมฯ 90 ชั่วโมง ประกอบด้วย หลักสูตรการฝึกอบรมฯ 90 ชั่วโมง ประกอบด้วย * การฝึกอบรมภาคทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ 1. การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. การพัฒนาสมรรถนะในการบริหารจัดการสถานศึกษา 3. การพัฒนาตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ * การฝึกประสบการณ์