จุดเน้นการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพในพื้นที่ระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเชิงบูรณาการ ระหว่างวันที่ 14-16 ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ ริเวอร์ไซด์ จังหวัดเชียงราย
เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2560
เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค.59 เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค.59 โรคติดต่อสำคัญ 1 โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40) 2 โรคพิษสุนัขบ้า ปี 63 ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 3 โรคเรื้อน ปี 63 ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ ไม่เกิน 100 ราย 4 มาลาเรีย ปี 67 ทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย 5 เอดส์ ปี 73 ยุติปัญหาเอดส์ : No เด็กคลอดมาติดเชื้อ & ผู้ใหญ่ติดเชื้อรายใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย 6 วัณโรค ปี 63 อุบัติการณ์วัณโรคลง 20% โรคไม่ติดต่อ 7 บาดเจ็บจากการจราจร ปี 63 ควบคุมอัตราตาย 50% จากปี 54 8 โรคไม่ติดต่อ ปี 68 ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs ลง 25% ควบคุมปัจจัยเสี่ยง แอลกอฮอล์ ปี 68 ปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ต่อหัว ปชก. ต่อปี ลง 10% 10 ยาสูบ ปี 68 การบริโภคยาสูบลง 30 % 11 ความดันโลหิตสูง ปี 68 ความชุกภาวะความดันโลหิตสูงลง 25 % 12 เบาหวาน ปี 68 ความชุกของเบาหวานและโรคอ้วน ไม่ให้เพิ่มขึ้น โรคจากการประกอบอาชีพฯ 13 เกษตรกรรม ปี 63 อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ไม่เกิน 9 : แสน ปชก. แผนการดำเนินงานในปี 60 กรมยังคงยึด เป้าหมายป้องกันควบคุมโรค เพื่อการลดโรคและภัยสุขภาพ ซึ่งเป็นแผนระยะยาว ทั้งโรคติดต่อที่สำคัญ โรคไม่ติดต่อ การควบคุมปัจจัยเสี่ยง และโรคประกอบอาชีพ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การพัฒนาเชิงระบบ (Backbone) จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 2557-2561 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ผลสัมฤทธิ์การป้องกันควบคุมโรค ตามระบบสุขภาพอำเภอ : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ” (DHS/DC) แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง ลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ , จัดการข้อมูลเฝ้าระวังสอบสวนโรค , ป้องกันชุมชน สถานบริการสาธารณสุข ป้องกันและลดการตายจากการจราจรทางถนน ,ขับเคลื่อน Big City RTI , พัฒนาการสอบสวนและนำข้อมูลไปใช้ สร้างทีม Merit Maker และสื่อสารประชาสัมพันธ์ ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ , ควบคุมโฆษณาและส่งเสริมการขาย , สื่อสารสาธารณะ เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยม ,มาตรการระดับชุมชน, คัดกรอง บำบัดรักษา โรคจากอาชีพ&สิ่งแวดล้อม จัดบริการอาชีวอนามัยแรงงานในชุมชน พัฒนาเครือข่ายลดปัจจัยเสี่ยงการทำงานของแรงงานในชุมชนและนอกระบบ สนับสนุนสถานประกอบการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์ สนับสนุนสถานประกอบการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร เฝ้าระวัง คัดกรองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผ่านบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการฯ บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ ป้องกันควบคุมไข้เลือดออก/ไข้ซิกาเชิงรุกในพื้นทีเสี่ยง ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย : คัดกรองCXR กลุ่ม HIV/DM ผู้ต้องขัง ต่างด้าว ผู้สูงอายุ รักษา กินยาครบ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ : RRTTR/ลดการตีตรา ป้องกันควบคุมโรคตับอักเสบจากไวรัส: เข้าถึงการรักษา ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง โครงการพระราชดำริ Malaria ในโรงเรียน ตชด 196 รร. คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ โรคหนองพยาธิ ในพื้นที่ทุรกันดาร การพัฒนาเชิงระบบ (Backbone) การเฝ้าระวัง ตอบสนองต่อโรคและภัยสุข ภาวะปกติและฉุกเฉิน การจัดการความรู้ การรับรองมาตรฐานและการประเมินเทคโนโลยี การพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ขับเคลื่อน พรบ.โรคติดต่อ 2558 ในระดับจังหวัดและอำเภอ บริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2557 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นพัฒนา/สร้างความเข้มแข็งให้เกิด ดังนี้ 1) ระบบเน้น - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดพื้นที่การควบคุมโรคต้นแบบ ที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรคที่ยั่งยืน โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี พัฒนากลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สร้าง/พัฒนาความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D, KM, HTA) ผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน ที่ผ่านการทดสอบ ทดลองว่าได้ผล ในบริบทต่างๆ พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็นตัวแทนของกรมควบคุมโรคที่ได้รับการยอมรับด้านวิชาการ มีผลงานเชิงประจักษ์ (ในแต่ละปี) 2) ประเด็นโรคเน้น เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ - ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง - ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข => ในภาคอุตสาหกรรม => ในภาคเกษตรกรรม
ตัวชี้วัดกรมควบคุมโรค ปี 2560 (ที่เกี่ยวข้องกับ 4 Excellence กระทรวงฯ ) Prevention & Promotion Excellence 1. ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง : ร้อยละ 80 (PA) 2. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ :ร้อยละ 85 (PA) ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) : ร้อยละ 80 (PA) 4. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน : ไม่เกิน 18/แสนปชก. (PA) 5. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ (PA) :DM ลดลงร้อยละ 5 (190,000 คน)/ HT ลดลงร้อยละ 2.5 (390,000 คน)(เดิมHT 536 คน/แสนปชก. DM 258 คน /แสนปชก.) 6. ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เชิงรุก : ร้อยละ 85 7. ประมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป : ไม่เกิน 6.81 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี 8. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป : ร้อยละ 18 9. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี : น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 /แสนประชากร
ตัวชี้วัดกรมควบคุมโรค ปี 2560 (ที่เกี่ยวข้องกับ 4 Excellence กระทรวงฯ ) People Excellence Service Excellence หน่วยปฏิบัติการโรคติดต่อ ครบทุกอำเภอ 10. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด (CVDs) : ร้อยละ 80 (PA) 11. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ : อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 5 ร้อยละรพ.ศูนย์, รพท. มีคลินิกจัดบริการ อาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด : (ร้อยละ 50) 13. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรอง คุณภาพโรงพยาบาล (HA) Governance Excellence 15. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกรม ควบคุมโรคผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 16. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร ระบบ เฝ้าระวัง ระบบบริการ ระบบสนับสนุน 17. ร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่เผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์
แนวทางการขับเคลื่อน
การดำเนินงานพัฒนาระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2560 ภายใต้กรอบ IHR 2005/GSHA/ยุทธศาสตร์ชาติ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวัง พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาสมรรถนะด่านฯ และจังหวัดชายแดน ระบบควบคุมโรค พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้าน สธ. (EOC) 14 แห่ง : 24/7 หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค1,030 หน่วย กฎอนามัยระหว่างประเทศ 2548 พ.ร.บ.โรคติดต่อ 2558 ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ระบบควบคุมโรค & ภัยสุขภาพ ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่เสี่ยง & กลุ่มเป้าหมายพิเศษ เขตเมือง/ท้องถิ่น /เขตเศรษฐกิจพิเศษ / ผู้เดินทางท่องเที่ยวภายใน & ระหว่างประเทศ / ต่างด้าว /กลุ่มวัย พัฒนา ร่าง พ.ร.บ.โรคประกอบอาชีพ/ โรคไม่ติดต่อ หลักสูตรเวชศาสตร์การเดินทางฯและ อาชีวเวชศาสตร์ ยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค 20 ปี ขับเคลื่อน / ขยายผล รูปแบบการป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง ผู้เดินทางท่องเที่ยว เขตเศรษฐกิจพิเศษ ต่างด้าว กลุ่มวัย คลินิกเวชศาสตร์การเดินทางฯ & อาชีวเวชศาสตร์ ความร่วมมือเครือข่ายภายใน & ป.เพื่อนบ้าน แผนปฏิบัติการเฝ้าระวังฯ ตาม พรบ.โรคติดต่อ 58 แผนยุทธศาสตร์มาลาเรีย / วัณโรค ปี 60-64 แผนพัฒนาการป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ 5 ปี ในปี 60 จะการดำเนินงานภายใต้ 4 หลักการดำเนินงาน ได้แก่ การป้องกันเชิงรุก (Prevent) และลดพฤติกรรมเสี่ยง ด้วยมาตรการที่มีประสิทธิภาพมาใช้อย่างทั่วถึง การตรวจจับที่รวดเร็ว แม่นยำ (Detect) การควบคุม (Response) ที่รวดเร็ว เป็นระบบ มีเอกภาพ ประสิทธิภาพ และปลอดภัย และขยายพื้นที่/กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เพื่อให้สามารถควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ และวาระความมั่นคงสุขภาพโลก โดยใช้ยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน มีการบูรณาการระบบการเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ มีหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค 1030 ทีม โดยขับเคลื่อน และขยายผลจากปี 59 ในการดำเนินงาน ขยายรูปแบบการป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง กลุ่มผู้เดินทางท่องเที่ยว เขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามกลุ่มวัย พัฒนาคลินิกเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว คลินิกอาชีวเวชศาสตร์ การขยายความร่วมมือกับเครือข่ายภายในประเทศ และประเทศเพื่อนบ้าน และนำแผนยุทธศาสตร์ มาใช้ในการทำงาน พัฒนาและผลักดัน ร่าง พรบ.โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม และ ร่าง พรบ.โรคไม่ติดต่อ เพื่อดูแลประชาชนให้ครอบคลุมมากขึ้น พัฒนาหลักสูตรเวชศาสตร์การเดินทางและอาชีวอนามัย เพื่อพัฒนาและผลิตบุคลากรเฉพาะด้าน ให้เพียงพอในการดูแลประชาชน 04/04/62 8
แนวทางการติดตาม
การติดตามและประเมินผลกรมควบคุมโรค ปี 2560 1. กำกับติดตามเข้มข้น: - แผนงาน/โครงการลดโรคและภัยสุขภาพ (Quick win) ทุก 3 เดือน, 6 เดือน, 9 เดือน, 12 เดือน - เป้าหมายการให้บริการกรมฯ (PSA) รอบ 12 เดือน - ผลผลิตของกรมฯ (SDA) ทุกเดือน - โครงการแก้ไขปัญหาพิเศษ (Hot Issue) เฉพาะพื้นที่ 2. ระบบบันทึกผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ (Estimates SM) 3. ระบบกำกับติดตามผล การเบิกจ่ายงบประมาณ (GFMIS) 4. การนิเทศงาน/ตรวจเยี่ยม หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค
ขอบคุณครับ