การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน
Draft Application Report
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
แผนพัฒนาองค์การ ปี 2553 แผนการปรับปรุงระบบการเรียนรู้ความต้องการและ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
เป็นคนดัง... ใครๆก็รัก เครื่องเทอร์โมแสกน ที่สนามบิน.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
(Customer Relationship Management : CRM) โครงการตามแผนพัฒนาองค์การ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
Strategic Line of Sight
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การดำเนินงานต่อไป.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.

Concepts of Public Administration Ancient way Classical Public Administration New Public Administration New Public Management Blacksburg Manifesto Postmodern Management

Quality Improvement Concepts Process Based Management VS Result Based Management ( PBM VS RBM) Conformance VS Performance What VS So What Finish VS Success Policy Implementation And Management Strategic Management New Public Management Principal – Agent Theory

การประยุกต์แนวคิดในการดำเนินงานของรัฐไทย ม.3/1 พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ระบุให้ส่วนราชการปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติราชการ มติ ครม. 28 มิถุนายน 2548 ให้นำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาใช้ มติ ครม. 29 กรกฎาคม 2551 เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2551 – 2555) โดยตัวชี้วัดในหมวดที่ 3 กำหนดให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการบริหารงานตามแผนพัฒนาองค์การ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของค่าเฉลี่ย และ ระดับสมรรถนะของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉลี่ย

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์และความท้าทาย 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการกระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้

หมวด 1 การนำองค์การ กำหนดทิศทาง วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ที่ชัดเจน เพิ่มอำนาจในการตัดสินใจให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ส่งเสริมจริยธรรมในการเรียนรู้และจูงใจ กำหนดตัวชี้วัดสำคัญและมีการติดตามประเมินผล นโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี จัดระบบควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง กำหนดมาตรการจัดการผลทางลบที่อาจจะเกิดต่อสังคม

หมวด 2 การวางยุทธศาสตร์ กำหนดขั้นตอนกิจกรรมและกรอบเวลาที่เหมาะสม มีการนำปัจจัยภายในและภายนอกมาพิจารณา ต้องวางแผนกลยุทธในการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้อง ต้องสื่อสารทำความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์และนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับหน่วยงาน จัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามและประเมินผล มีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง

หมวด 3 ให้ความสำคัญกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ รับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการ กำหนดผู้รับผิดชอบให้ชัดเจน ปรับปรุงการบริการตามคำร้องเรียน มีเครือข่ายและกิจกรรมร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมใน 5 ระดับ วัดความพึงพอใจในการบริการ วัดความไม่พึงพอใจ กำหนดมาตรฐานหรือคู่มือในการปฏิบัติงาน กำหนดวิธีติดตามคุณภาพการให้บริการ

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ต้องมีฐานข้อมูลที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ทบทวนข้อมูลของกระบวนการสร้างคุณค่าของปีที่ผ่านมา ต้องมีฐานข้อมูลสนับสนุนกระบวนการทำงาน มีเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูล มีระบบเฝ้าติดตาม และเตือนภัย (Warning System) มีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบสารสนเทศ มีแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปสู่การปฏิบัติ

หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล กำหนดปัจจัยที่ส่งผลต่อความผาสุกและพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน มีการประเมินผลงานอย่างเป็นธรรม และแจ้งผลการประเมิน นำแผนกลยุทธ์พัฒนาบุคคลไปปฏิบัติ มีระบบประกันคุณภาพของการฝึกอบรม มีแผนสร้างความก้าวหน้าในสายงาน

หมวด 6 การจัดการกระบวนการ กำหนดกระบวนการสร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์และพันธกิจ กำหนดข้อกำหนดที่สำคัญในการสร้างคุณค่า นำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการออกแบบกระบวนการ มีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้น กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานให้บุคลากรไปปฏิบัติ ปรับปรุงกระบวนการสร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ ระดับผลสำเร็จของการดำเนินงานตามแผน ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานเวลาสร้างคุณค่า ระดับความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานเวลาสนับสนุน ระดับผลสำเร็จในการเบิกจ่ายงบประมาณ ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ ความทันสมัยของระบบฐานข้อมูล ผลการดำเนินการตามแผนจัดการความรู้ ความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี

การนำองค์การ : การกำหนดทิศทาง การนำองค์การ : การกำหนดทิศทาง วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ ที่ชัดเจน ให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดำเนินการสื่อสารไปยังบุคลากร โดยสื่อสาร 2 ทาง กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือให้บรรลุผลตามทิศทางที่กำหนด ผู้รับบริการ : ผู้ที่มารับบริการโดยตรง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย : ผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม

การนำองค์การ : เพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ การนำองค์การ : เพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ การมอบอำนาจให้ผู้ปฏิบัติงานระดับรองเพื่อตัดสินใจ ได้ทันท่วงที การมอบอำนาจให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ ภายใต้การกำกับดูแลให้คำปรึกษาของผู้บริหาร การมอบอำนาจให้เกิดการทำงานในลักษณะทีมงาน

การนำองค์การ : การบูรณาการและสร้างความผูกพันธ์ การนำองค์การ : การบูรณาการและสร้างความผูกพันธ์ สร้างบรรยากาศในการทำงาน สร้างแรงจูงใจ กิจกรรมการเรียนรู้ภายในองค์การ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทำงาน

การนำองค์การ : การกำหนดให้มีระบบติดตามและประเมินผล การนำองค์การ : การกำหนดให้มีระบบติดตามและประเมินผล มีแผนติดตามและประเมินผลที่ชัดเจน มีการติดตามและประเมินผลตามกำหนด มีการทบทวนการดำเนินงาน มีการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จ อาจใช้ผู้ประเมินอิสระ หรือ ประเมินตนเองก็ได้

การนำองค์การ : การกำกับดูแลองค์การที่ดี การนำองค์การ : การกำกับดูแลองค์การที่ดี ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านองค์การ ด้านผู้ปฏิบัติงาน

การนำองค์การ : การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การนำองค์การ : การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ระบบควบคุมภายในเพียงพอ เหมาะสม มีประสิทธิภาพ การควบคุมภายในดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผล ข้อตรวจพบได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเหมาะสม ควบคุมภายในได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์

การนำองค์การ : มาตรการการจัดการผลกระทบทางลบ การนำองค์การ : มาตรการการจัดการผลกระทบทางลบ ก่อนการดำเนินการจะต้องมีการวิเคราะห์ผลดีผลเสียครบ ทุกด้าน กำหนดขั้นตอนการดำเนินงานที่โปร่งใส มีกลไกการตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน กรณีที่มีผลกระทบต่อประชาชน จะต้องรับฟังความคิดเห็น กำหนดมาตรการและผู้รับผิดชอบในการจัดการผลกระทบทางลบ

สรุปแนวทางการนำองค์การ กำหนดทิศทางของหน่วยงาน การกำกับดูแลตนเองที่ดี การทบทวนผลการดำเนินงานของหน่วยงาน ความรับผิดชอบต่อสังคม การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม

การดำเนินงานของ สป.มท. ทบทวนโอกาสในการปรับปรุง จากปีที่ผ่านมา จัดทำแผนพัฒนาองค์การ และมอบหน้าที่ดำเนินงาน ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนดำเนินงาน และตามประเด็น ADLI ด้วยระบบติดตามและประเมินผลด้วยตนเอง และแสดงผลด้วยคะแนน

สิ่งที่จะต้องขอความร่วมมือในการดำเนินงาน การเผยแพร่และสื่อสารวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ หรือทิศทางการดำเนินงาน ของ สป.มท. เจ้าหน้าที่ทุกคนจะต้องทราบจำได้ขึ้นใจ (เป็นตัวชี้วัดสำคัญ) การนำยุทธศาสตร์ของ สป.มท. ไปสู่การปฏิบัติ หน่วยงานจะต้องสามารถระบุให้ได้ว่าการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม สนับสนุนการดำเนินงานในยุทธศาสตร์ใด การดำเนินงานตามกิจกรรมในแผนพัฒนาองค์การ และ ADLI การถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงาน และการถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับหน่วยงานสู่บุคคล งานพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรอง สป.มท. ที่มีน้ำหนักร้อยละ 20 มิใช่เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง แต่เป็นหน้าที่ที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกัน