การตรวจราชการ ประจำปี 2560
หมายเหตุ : 1) ให้งดการมอบ – รับของฝาก กระเช้าของ กำนัลต่างๆ 2) การดูแลอำนวยความสะดวก อำจขอให้จัดรถ รับ – ส่ง สำหรับบางคณะ/ทีมตรวจราชการที่ การลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมในวันแรก และวันที่ 2 ของการตรวจราชการ 3) การจัดอาหารมื้อเที่ยง และมื้อเย็น สำหรับคณะ ผู้ตรวจและผู้นิเทศ ให้จัดเป็นอาหรจานเดียว หรือตามที่จังหวัดเห็นสมควร โดยไม่ยุ่งยากและ ไม่เป็นการรบกวนพื้นที่
แนวทางการตรวจราชการ ประจำปี 2560 1) สำหรับจังหวัด ในการจัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานนั้น จะจัดทำ รายงานโดยใช้แบบฟอร์มรายงาน ตก.1 ของสำนักตรวจและประเมินผลก็ได้ 2) ในตารางการรายงานตัวเลข ...ตัวชี้วัด... ให้เก็บข้อมูลรายงาน ดังนี้ การตรวจราชการรอบที่ 1 - รายงานผลดำเนินการ 3 เดือน (1 ตุลาคม 2559 – 31 ธันวาคม 2559) และ รายงานข้อมูล ณ วันที่เข้าตรวจราชการ - จากนั้นให้ส่งข้อมูลเมื่อครบ 6 เดือน (1 ตุลาคม 2559 – 31 มีนาคม 2560) ตามมา การตรวจราชการรอบที่ 2 - รายงานผลดำเนินการ 6 เดือน (1 ตุลาคม 2559 – 31 มีนาคม 2560) และ - จากนั้นให้ส่งข้อมูลเมื่อครบ 9 เดือน (1 ตุลาคม 2559 – 30 มิถุนายน 2560) ตามมา
แนวทางการตรวจราชการ ประจำปี 2560 3) การตรวจราชการ ตัวชี้วัด template และแบบรายงาน ตก. จะจัดส่งให้กับงานยุทธศาสตร์ของ สสจ.ทุกจังหวัด ทาง email 4) สำหรับเขตสุขภาพที่ 5 ** ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ ได้รับมอบหมายจากผู้ตรวจ ราชการให้ดูเรื่อง "การบริหารจัดการเรื่องงบประมาณ - การใช้งบประมาณ" ร่วมด้วย และ ** CIO ดูเรื่อง ระบบข้อมูล 5) การรายงานผลดำเนินงาน ที่เป็นตัวเลข (อัตรา..../ ร้อยละ....) นั้น ให้รายงานทั้งจำนวน "ตัวตั้ง" และ "ตัวหาร" ให้ครบ
ภารกิจและกรอบประเด็นการตรวจราชการปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 คณะ 1 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรคและการคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพประกอบด้วยหัวข้อ 1.1 การพัฒนาคุณภาพชีวิต (ด้านสุขภาพ)ทุกกลุ่มวัย 1.1.1 สตรีและเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) 1.1.2 เด็กวัยเรียน 1.1.3 วัยรุ่น 1.1.4 วัยทำงาน 1.1.5 ผู้สูงอายุ 1.2 ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ 1.3 การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
คณะ 2 การพัฒนาระบบบริการ 2.1 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2.2 สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD) 2.3 สาขา RDU 2.4 สาขาทารกแรกเกิด 2.5 สาขา Palliative Care 2.6 สาขาแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน 2.7 สาขาสุขภาพจิต 2.8 สาขาหลัก 3 สาขา plus (สูติกรรม กุมารเวชกรรม ออร์โธปิดิกส์ อายุรกรรม*) 2.9 สาขาหัวใจและหลอดเลือด
คณะ 2 การพัฒนาระบบบริการ 2.10 สาขามะเร็ง 2.11 สาขาไต 2.12 สาขาตา 2.13 สาขาสุขภาพช่องปาก 2.14 สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ 2.15 สาขาอุบัติเหตุ 2.16 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการ
คณะ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3.1 การผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ 3.2 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ กำลังคน 3.3 การพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ
คณะ 4 การบริหารจัดการ 4.1 ระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ 4.2 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้าน สุขภาพ 4.3 การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 4.4 การเงินการคลังสุขภาพ 4.5 การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้าน สุขภาพ
คณะ 5 การตรวจราชการแบบบูรณาการร่วมกับสานักนายกรัฐมนตรี 5.1 บริหารจัดการขยะ มูลฝอยและสิ่งแวดล้อม 5.2 กำรป้องกันและลดอุบัติเหตุทำงถนน ** สำหรับเขตสุขภาพที่ 5 เพิ่มเติม การตรวจ ราชการ เพื่อดูประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ด้านงบดำเนินงาน และด้านระบบข้อมูล ร่วมด้วย