งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564
ร่างแผนยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564

2 กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
ครั้งที่ กระบวนการ วันที่จัดกระบวนการ Day 1 ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ที่ผ่านมา 26 กรกฎาคม2559 Day 2 นำเสนอและวิเคราะห์ประเด็นสุขภาพสำคัญ 4 สิงหาคม 2559 Day 3 จัดทำกลยุทธ์ตามเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ 12,15 กันยายน 2559 Day 4 Approve แผนยุทธศาสตร์ 16 กันยายน 2559 Day 5 สรุปแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเขตสุขภาพที่ 2 5 ตุลาคม 2559 Day 6 พิจารณาร่างแผนยุทธศาสตร์สำนักงานเขตสุขภาพที่ 2 13 ตุลาคม 2559

3 การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ ปี 2560 - 2564
ครั้งที่ กระบวนการ วันที่จัด 1 ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ให้คณะทำงานฯ เขตสุขภาพที่ 2 ภายในเดือนตุลาคม 2559 2 อนุมัติแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ 3 อนุมัติโครงการ ภายในเดือนพฤศจิกายน 2559

4 “เขตสุขภาพที่ 2 รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี”
วิสัยทัศน์ (vission) เขตสุขภาพที่ ๒ “เขตสุขภาพที่ 2 รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี”

5 พันธะกิจ (Mission) เขตสุขภาพที่ ๒
1.สร้างเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย โดยการรวมพลังสังคม ภาคีเครือข่าย และประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ 2. จัดบริการสุขภาพแก่ประชาชนให้เข้าถึงบริการทุกมิติที่ได้มาตรฐานโดยเครือข่ายที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ 3. บริหารจัดการภายใต้ระบบธรรมาภิบาล

6 เป้าประสงค์ (Goal) เป้าประสงค์ที่ 1 ประชาชนมีสุขภาพดี : อัตราการเสียชีวิตและอัตราการเกิดโรค ลดลง ตัวชี้วัดด้านสุขภาพที่สำคัญบรรลุเป้าหมาย เป้าประสงค์ที่ 2 เจ้าหน้าที่มีความสุข : บุคลากรได้รับการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ มีสมรรถนะและมีความสุขในการทำงาน เป้าประสงค์ที่ 3 ระบบสุขภาพยั่งยืน : มีระบบสุขภาพเป็นหนึ่งเดียว องค์รวม ไร้รอยต่อ สร้างความเป็นธรรม และความมั่นคงทางสุขภาพ

7 แผนยุทธศาสตร์สาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2560 – 2564
แผนยุทธศาสตร์สาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2560 – 2564

8 ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ : P&P excellence
กลยุทธ์ 1.1.สร้างสุขภาพทุกกลุ่มวัยโดยมุ่งการสร้างความตระหนักรู้เพื่อปรับพฤติกรรมสุขภาพ 1.2 สร้างระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพแบบบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่าย 1.3 สร้างความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 1.4 มุ่งจัดการปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Health determinant) โดยการสร้างระบบสุขภาพเชิงรุก

9 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 Service excellence
กลยุทธ์ 2.1 มุ่งเน้นพัฒนาระบบบริการทุกระดับและการแพทย์ปฐมภูมิให้มีมาตรฐาน 2.2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ตอบสนอง Health need บนหลักการ One region One hospital 2.3 พัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ เพื่อความเป็นเลิศด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Service Academic และ Research )

10 ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 การบริหารจัดการกำลังคนที่เป็นเลิศ (People excellence)
กลยุทธ์ 3.1. พัฒนาระบบการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ 3.2 พัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นมืออาชีพ 3.3 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนความก้าวหน้าในวิชาชีพ และสร้างขวัญกำลังใจ

11 ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 Governance excellence
กลยุทธ์ 4.1 เสริมสร้างระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพที่ตอบสนองการใช้ทุกมิติและทุกระดับ 4.2 ส่งเสริมการใช้ยาที่มีเหตุผล และสร้างระบบยาที่สามารถสนับสนุนภารกิจอย่างเพียงพอ 4.3 นำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในระบบบริหารจัดการ 4.4 วางแผนการลงทุนระยะยาวที่สอดคล้องกับ health need และ health service 4.5 พัฒนาระบบการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ

12 ประเด็นทางสุขภาพที่มุ่งเน้น (ตามลำดับความสำคัญ)
NCD SP NCD/ สคร.2 RTI SP อุบัติเหตุ/สคร.2 ไข้เลือดออกและซิก้า สคร.2 คุณภาพเด็กไทย ศูนย์อนามัยที่ 2 โรคหลอดเลือดหัวใจ SP สาขาหัวใจฯ

13 ประเด็นทางสุขภาพที่มุ่งเน้น (ตามลำดับความสำคัญ)
โรคมะเร็ง SP สาขามะเร็ง ผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 มารดาตาย MCHB เขต/ศูนย์อนามัยที่ 2 ฆ่าตัวตายสำเร็จ SP จิตเวช/ศูนย์สุขภาพจิตที่ 2

14 ประเด็นพัฒนาที่มุ่งเน้น (ตามลำดับความสำคัญ)
การบริหารจัดการระบบข้อมูล(Information system) ผู้รับผิดชอบหลัก CIO 2. การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ(District Health System) ผู้รับผิดชอบหลัก SP ปฐมภูมิ 3.การบริหารและพัฒนากำลังคน ผู้รับผิดชอบหลัก CHRO 4. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ(Primary care cluster) ผู้รับผิดชอบหลัก SP ปฐมภูมิ 5. การบริหารการเงินการคลัง ผู้รับผิดชอบหลัก CFO

15 ประเด็นพัฒนาที่มุ่งเน้น (ตามลำดับความสำคัญ)
6. การส่งต่อ ผู้รับผิดชอบหลัก CSO 7. ธรรมาภิบาล (Good governance) ผู้รับผิดชอบหลัก COO 8. การวางแผนการลงทุนและบริหารทรัพยากร ผู้รับผิดชอบหลัก COO 9.การตรวจสอบติดตาม ประเมินผล ผู้รับผิดชอบหลัก COO 10. การวิจัยและพัฒนา (R&D) ผู้รับผิดชอบหลัก CRO

16 ประเด็นพัฒนาเพื่อความเป็นเลิศ
1.Service plan สาขาตา ผู้รับผิดชอบหลัก SP สาขาตา 2 . Service planสาขาทารกแรกเกิด ผู้รับผิดชอบหลัก SP สาขาทารกแรกเกิด

17 สถานการณ์ด้านสุขภาพ เขตบริการสุขภาพที่ 2
NCD โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

18 สถานการณ์กลุ่มเสี่ยงสูง Pre-DM ,Pre-HT ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป (ฐาน HDC)
จังหวัด คัดกรองDM เสี่ยงสูง ร้อยละ สงสัยป่วย อุตรดิตถ์ 79.22 23,174 15.56 2,943 1.98 ตาก 80.91 11,303 7.78 1,238 0.85 สุโขทัย 83.24 29,223 14.55 3,576 1.78 พิษณุโลก 69.77 31,540 14.42 4,442 2.03 เพชรบูรณ์ 69.58 31,460 12.03 3,866 1.48 เขต 2 75.13 126,700 12.99 16,065 1.65 คัดกรอง DM - เขต 2 พบกลุ่มเสี่ยงสูง 126,700 คน ร้อยละ 12.99 สูงอันดับ 1 ของประเทศ (ประเทศ 8.8%) จังหวัด คัดกรองHT เสี่ยงสูง ร้อยละ สงสัยป่วย อุตรดิตถ์ 82.77 46,262 36.92 11,643 9.29 ตาก 83.54 41,330 35.07 8,652 7.34 สุโขทัย 84.12 56,796 36.73 17,460 11.29 พิษณุโลก 73.54 92,061 47.76 15,864 8.23 เพชรบูรณ์ 73.41 77,522 32.32 21,657 9.03 เขต 2 77.96 313,971 37.81 75,276 9.07 คัดกรอง HT เขต 2 พบกลุ่มเสี่ยงสูง 313,971 ราย ร้อยละ 37.81 สูงอันดับ 2 ของประเทศ (ประเทศ 27.33%) ข้อมูล ณ 27 กค.2559

19 ผู้ป่วย DM คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี HbA1c <7mg%
จังหวัด ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 พิษณุโลก 41.1 52.41 56.82 66.06 เพชรบูรณ์ 49.97 39.91 45.24 39.46 50.9 อุตรดิตถ์ 42.07 39.23 45.27 37.62 42.13 ตาก 35.24 32.53 41.34 47.04 51.72 สุโขทัย 32.66 35.79 33.6 40.1 36.33 เขต 2 45.35 42.44 54.65 51.1 44.11 Med ResNetเขต 2 36.2 37.3 37.9 ผู้ป่วย DM คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี HbA1c <7mg% แหล่งข้อมูล : ระบบรายงานจังหวัด จังหวัด ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 พิษณุโลก 71.4 50.44 71.95 71.14 70.6 เพชรบูรณ์ 62.84 60.45 68.98 60.46 59.93 อุตรดิตถ์ 47.58 55.56 53.41 60.39 57.44 ตาก 68.79 69.59 53.99 58.5 64.06 สุโขทัย 59.75 63.13 59.52 65.17 58.59 ภาพรวมเขต 62.38 59.51 58.39 63.84 62.1 Med ResNetเขต 2 65.7 66 67.2 ผู้ป่วย HT ควบคุม BP ได้ดี (BP<140/90 mmHg 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน)

20 ความชุกโรคเบาหวาน (Prevalence)
แหล่งข้อมูล HDC Service

21 ความชุกของโรคความดันโลหิตสูง (Prevalance)
ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งในระดับเขตและจังหวัด แหล่งข้อมูล HDC Service

22 การคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การคัดกรองยังไม่ผ่านค่าเป้าหมายที่มากกว่าร้อยละ 90 แหล่งข้อมูล HDC Service

23 หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )
ประเด็นสุขภาพที่ 1. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ตัวชี้วัด 60 61 62 63 64 1. อัตราภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน (ไม่เกิน 32.8) 32. 8 32 .8 2. อัตราการสูบบุหรี่(ลดลงร้อยละ 20 ใน 5 ปี ) 20.35 19.50 18.66 17.81 16.96 3. อัตราการดื่มสุรา (ลดลงร้อยละ10 ใน 5 ปี ) 38.22 37.46 36.71 35.97 35.25 4. อัตราผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่ (ลดลง ) 5. ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงควบคุมระดับน้ำตาล/ระดับความดันโลหิตได้ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา) 38.15/35.74 41.96/39.31 46.16/43.24 50.77/47.57 55.85/52.33 6. อัตราการเกิด Stroke รายใหม่ (ลดลงร้อยละ 2 จากปีที่ผ่านมา ) 98.54 96.57 94.64 92.75 90.89 7. อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ รายใหม่ (ลดลงร้อยละ 2 จากปีที่ ผ่านมา) 26.32 25.79 25.28 24.77 24.28 8. อัตราการเกิดโรคไตรายใหม่ในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง(ลดลง) หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )

24 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ต่อ หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )
กลยุทธ์/มาตรการ 1.2 สร้างระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพแบบบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่าย - ขยายพื้นที่ตำบลจัดการความเสี่ยงต่อ NCD ภายใต้ DHS - สถานที่ทำงาน/สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (เน้นปลอดโรค NCD โดยพัฒนารูปแบบการจัดการความเสี่ยงใน สปก.) -ขยายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง,เพชร หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )

25 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ต่อ หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )
กลยุทธ์/มาตรการ 2.1 มุ่งเน้นพัฒนาระบบบริการทุกระดับและการแพทย์ปฐมภูมิให้มีมาตรฐาน กิจกรรมสำคัญ - พัฒนายกระดับคลินิก NCD คุณภาพให้ผ่านเกณฑ์ในระดับที่สูงขึ้น 3.2 พัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพ Case Manager /System Manager ระดับ CUP 4.1 เสริมสร้างระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพที่ตอบสนองการใช้ทุกมิติและทุกระดับ พัฒนาระบบเฝ้าระวังข้อมูลเพื่อประเมินสถานการณ์ และสะท้อนการดำเนินงาน หน่วยบริการทุกระดับ (A, S, M, F, P )

26


ดาวน์โหลด ppt เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 – 2564

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google