บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 4. บูรณาการความ ร่วมมือเครือข่าย อาสาสมัครและ อปท. ในพื้นที่เพื่อ การปฏิบัติงาน.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กรณีศึกษ าที่ 2 ( แบบ ปย.2) กรณีศึกษา อุทยาน แห่งชาติน้ำตกพลิ้ว.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ท่าเรือแหลมฉบังก่อสร้างศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฯ หนังสือขอส่งงวด งาน.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
การพยาบาลเพื่อสนองความต้องการ ด้านการขับถ่ายอุจจาระ
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
(Group activity therapy)
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
สัตวบาลเบื้องต้น นายสัตวแพทย์สุพจน์ หนูปัทยา กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ขดลวดพยุงสายยาง.
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การติดตาม (Monitoring)
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
พ.ต.อ.หญิงนพมาศ ขำสมบัติ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร

ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อน อายุ - แรงจูงใจ แสงสว่าง - กิจกรรม สิ่งแวดล้อม - ความเครียด อารมณ์ อาหาร - ความเจ็บป่วย ยา

การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการพักผ่อน สิ่งแวดล้อม: เสียง กลิ่น แสง การกำหนดเวลาเยี่ยมและจำกัดจำนวนผู้เข้าเยี่ยม การถ่ายเทของอากาศ อุณหภูมิ การกำจัดแมลง ยุง มด ช่วงเวลาการจัดกิจกรรมการพยาบาล บรรเทาอาการที่เกิดจากความเจ็บป่วย

การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการพักผ่อน พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน : แบบแผนการนอนหลับ การออกกำลังกาย การดูแลเรื่องอาหาร อารมณ์และจิตใจ ความสุขสบาย และความรู้สึกผ่อนคลาย ดูแลให้ยานอนหลับ ตามแผนการรักษา

การดูแลให้ได้รับความปลอดภัย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ระดับพัฒนาการตามช่วงอายุ ความบกพร่องด้านประสาทสัมผัส สภาพร่างกาย ระดับความรู้สึกตัว ผลจากการรับประทานยา อุปกรณ์ช่วยเดิน

การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องการ ด้านความปลอดภัย ความปลอดภัยในด้านความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ :อากาศ อาหาร น้ำ อุณหภูมิ ความชื้น ความปลอดภัยจากการติดเชื้อโรค ความปลอดภัยจากการพลัดตกหกล้ม ความปลอดภัยจากการให้การพยาบาล การทำหัตถการ ความปลอดภัยจากการใช้เครื่องมือ การใช้เครื่องผูกยึด (restrain)

การจัดการสิ่งแวดล้อม 1. อุปกรณ์เครื่องใช้อยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งาน มีความปลอดภัย 2. สิ่งแวดล้อม เป็นระเบียบ สวยงาม ทำลายเชื้อและกำจัดขยะอย่างถูกวิธี อุณหภูมิที่เหมาะกับการพักผ่อน 4. แสงสว่างพอเหมาะ 5. การถ่ายเทอากาศที่ดี 6. ไม่มีเสียงรบกวนการพักผ่อน 7. กำจัดกลิ่นที่รบกวนผู้ป่วย 8. สภาพแวดล้อมมิดชิด มีความเป็นส่วนตัว

การทำเตียง 1. หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 1. หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 1.1 เก็บผ้าโดยม้วนด้านที่สัมผัสกับผู้ป่วยไว้ด้านใน 1.2 ห้ามสะบัดผ้า 1.3 ไม่นำผ้าไปวางบนเตียงอื่น ไม่วางผ้าที่ใช้แล้วบนเตียงผู้ป่วย 1.4 ไม่วางผ้าบนพื้น 1.5 ทำความสะอาดจากบริเวณที่สกปรกน้อยมาที่สกปรกมาก 1.6 เตียงผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อเช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ 1.7 ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้งทุกครั้งก่อนและหลังสัมผัสกับผู้ป่วย หรือของใช้ผู้ป่วย รวมถึงการใช้เครื่องป้องกันที่เหมาะสม 1.8 ระมัดระวังไม่ให้มือสัมผัสหน้าตาหรือร่างกาย 1.9 ไม่ให้ผ้าสกปรกมาสัมผัสชุดพยาบาล 1.10 เปลี่ยนผ้าปูที่นอนทุกเช้าหลังผู้ป่วยอาบน้ำเสร็จ/เปียก/สกปรก 1.11 สำรวจความสะอาด เรียบร้อยของเตียงในระหว่างวัน

การทำเตียง 2. หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุต่อตัวผู้ป่วย 3. ประหยัดเวลาและพลังงาน 4. คำนึงถึงความเป็นบุคคลของผู้ป่วย 5. หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุต่อตัวพยาบาล 6. ตรวจสอบความเรียบร้อยของการทำเตียง 7. การปฏิบัติกับผ้าที่ใช้แล้วอย่างเหมาะสม

การทำเตียง 4 ประเภท การทำเตียงว่าง (closed bed/ ordinary bed) การทำเตียงที่ผู้ป่วยสามารถลุกออกจากเตียงได้ (open bed) การทำเตียงที่มีผู้ป่วยนอนอยู่ (occupied bed) การทำเตียงรอรับผู้ป่วยดมยาสลบ (ether bed/ anesthetic bed)

วิธีปฏิบัติการทำเตียง การเตรียม 1. ประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของผู้ป่วย 2. ตรวจสอบคำสั่งการรักษาที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการพยาบาล 3. ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง 4. จัดเตรียมเครื่องใช้ให้ครบ 5. จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม 6. นำราวกั้นเตียงด้านเดียวกับพยาบาลลง

การพับมุมผ้าปูเตียง 1 2 3

การทำเตียงที่ผู้ป่วยสามารถลุกออกจากเตียงได้ (open bed การปูเตียงทีละด้าน

การทำเตียงที่มีผู้ป่วยนอนอยู่ (occupied bed)

การทำเตียงว่าง (closed bed/ ordinary bed)

การทำเตียงรอรับผู้ป่วยดมยาสลบ (ether bed/ anesthetic bed)

จบการนำเสนอบทที่ 4 นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบการสอน และหนังสือตามที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในบรรณานุกรมท้ายบทที่ 4