สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯ ของหน่วย กอ.รมน.ในพื้นที่ กอ.รมน. ภาค ๑ – ๔ โดย ศปป.๔ กอ.รมน.
เรื่องที่ชี้แจง ๑. แผนงาน/โครงการ ศปป.๔ กอ.รมน. ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๒. สรุปการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯ ตามตัวชี้วัด ๒.๑ ด้านประสิทธิภาพ ๒.๒ ด้านประสิทธิผล ๒.๓ ด้านคุณภาพการปฏิบัติงาน และการบริหารจัดการ ๒.๔ ด้านการพัฒนาองค์กร และระบบข้อมูลสารสนเทศ ๒.๕ ด้านกิจกรรมเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ ๓. สรุปการประเมินผลการปฏิบัติงานของ กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๔. สรุปผลการใช้จ่างบประมาณปี ๒๕๖๐ ๕. แผนงาน/โครงการ และงบประมาณปี ๒๕๖๑
แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๑. แผนงานด้านการป้องกันแก้ไขปัญหาการบุกรุก ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ศปป. ๔ กอ.รมน. ดำเนินงานตามแผนแม่บทแก้ไขปัญหาการทำลายทรัพยากร ป่าไม้ การบุกรุกที่ดินของรัฐ และการบริหารทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ใน ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ผนึกกำลังป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าไม้ และ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ปลุกจิตสำนึกรักผืนป่าของแผ่นดินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายโดยปฏิบัติตามแผนงานโครงการ ๔ โครงการดังนี้ ๑) โครงการขับเคลื่อนกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคง ๒) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ๓) โครงการเยาวชนร่วมปกป้องผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พลังงานและอาหาร ๔) โครงการประเมินผลการปฏิบัติการตามแผนแม่บทฯ
แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๒. แผนงานด้านการเสริมสร้างความมั่นคงด้านสิ่งแวดล้อม พลังงาน และอาหาร ศปป.๔ กอ.รมน. ได้รับภารกิจเพิ่มในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ในเรื่องการเสริมสร้างความมั่นคงด้านสิ่งแวดล้อม พลังงาน และอาหาร การดำเนินการในห้วงที่ผ่านมาได้มอบหมายให้ ชุดประเมินผลที่เดินทางไปตรวจติดตามการประเมินผลตามแผนแม่บทฯ ได้ชี้แจงให้หน่วยงานในพื้นที่ระดับจังหวัดได้รับทราบ และขอรับทราบปัญหาข้อขัดข้องในพื้นที่ อีกทั้งได้เดินทางไปตรวจดูพื้นที่ซึ่งมีปัญหาเพื่อประสานงานและรับทราบข้อมูลพร้อมให้ข้อเสนอแนะ
สรุปผลการดำเนินการ แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๑. โครงการขับเคลื่อนกลไกการป้องกันและแก้ไขด้านความมั่นคงพิเศษ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ:- - เพื่อขับเคลื่อนกลไกภาคราชการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงพิเศษโดยร่วมมือกันพิทักษ์รักษาทรัพยากรป่าไม้ - เพื่อแลกเปลี่ยนเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและผู้รับผิดชอบ ผลการดำเนินการ ได้เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการแก้ไขปัญหาความมั่นคงด้านทรัพยากรป่าไม้ สิ่งแวดล้อม พลังงานและอาหาร ให้กับผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติในพื้นที่ กอ.รมน.ภาค, กอ.รมน.ภาค สย., กอ.รมน.ภาค ๔ สน. และ กอ.รมน.จังหวัด รวมทั้งสิ้น ๕๒๐ นาย
สรุปผลการดำเนินการ แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๒. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำลายทรัพยากรธรรมชาติ จัดชุดลาดตระเวนป้องกัน ปราบปราม ร่วมกับเจ้าหน้าที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช, กรมป่าไม้, สำนักบริหารทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, กองกำลังรักษาความสงบเรียบร้อย, เจ้าหน้าที่ตำรวจในพื้นที่, เจ้าหน้าที่ตำรวจตระเวนชายแดน ฯลฯ จำนวนทั้งสิ้น ๗๗ หน่วย ออกลาดตระเวนปกป้องผืนป่าตามแผนแม่บทฯ ปฏิบัติในพื้นที่วิกฤต ๕๒ จังหวัด วางแผนการปฏิบัติการหน่วยละ ๑๒๐–๑๕๐ วัน รวมวันปฏิบัติทั้งสิ้น ๙,๘๙๐ วัน ผลการดำเนินการ สามารถทวงคืนผืนป่า ตั้งแต่เดือน ต.ค.๕๙ – ๓๑ ก.ค.๖๐ สามารถเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ทั้งป่าบกและป่าชายเลนจำนวน ๑๐๗,๔๑๐.๐๙ ไร่
สรุปผลการดำเนินการ แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๓. โครงการเยาวชนร่วมปกป้องผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติ จัดการฝึกอบรมเพื่อปลูกจิตสำนึกกลุ่มเยาวชนให้มีความเข้าใจในการปกป้องอนุรักษ์ป่าไม้ ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เยาวชนเกิดความภาคภูมิใจ รู้จัก การประสานงาน และการทำงานร่วมกัน กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๒ กลุ่มคือ กลุ่มที่ ๑) การอบรมเยาวชนด้านทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ จำนวน ๑๗๙ รุ่นๆ ละ ๒๒๐ คน กลุ่มที่ ๒) การอบรมเยาวชนร่วมด้านสิ่งแวดล้อม พลังงาน และ อาหาร จำนวน ๑๖๖ รุ่นๆ ละ ๑๐๐ คน ผลการดำเนินการ การปลูกจิตสำนึกภาคประชาชนและสร้างเครือข่ายมวลชนภาคเยาวชนด้านการปกป้องผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม พลังงาน และอาหาร รวมทั้งสิ้น ๕๕,๙๘๐ คน
สรุปผลการดำเนินการ แผนงาน/โครงการ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๔. โครงการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯ ดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานของ กอ.รมน.ภาค, กอ.รมน.ภาค ส.ย., กอ.รมน.ภาค ๔ สน. และ กอ.รมน.จังหวัด ในการบูรณาการเพื่อปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ตามแผนแม่บท จำนวน ๒๕ หน่วย ผลการดำเนินการ ดำเนินการประเมินผล กอ.รมน.ภาค ๑ – ๔ รวมทั้งสิ้น ๙๑ หน่วย โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการที่หน่วยได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก ศปป.๔ กอ.รมน. ทั้ง ๔ โครงการ ๕ ตัวชี้วัด ดังนี้ ๑) ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) ๒) ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) ๓) ด้านคุณภาพการปฏิบัติงานและบริหารจัดการ (Quality) ๔) ด้านการพัฒนาองค์กรและระบบข้อมูลสารสนเทศ ๕) ด้านกิจกรรมเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ
สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯปัญหาและข้อเสนอแนะ ๑. สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯ ตามตัวชี้วัด ๑.๑ ด้านที่ ๑ ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) ๑) โครงการขับเคลื่อนกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงพิเศษ จากการตรวจประเมินพบว่า กอ.รมน.ภาค ขออนุมัติดำเนินโครงการได้ถูกต้องตามแผนงานที่ ศปป.๔ กอ.รมน.กำหนด ภายในห้วงเวลาที่เหมาะสม มีการรายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมภาพกิจกรรมเชิงประจักษ์ และสามารถทำการเบิกจ่ายงบประมาณได้ครบถ้วน ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี ๒) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการป้องกันปราบปรามการบุกรุกและทำลายทรัพยากรป่าไม้ จากการตรวจประเมินพบว่า การจัดทำแผนปฏิบัติงานของ กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด บางหน่วยใช้วิธีจัดทำแผนปฏิบัติงานแบบเดือนต่อเดือน ยังไม่มีการวางแผนงานล่วงหน้าให้มีความต่อเนื่อง และ ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมาย ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี
สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯปัญหาและข้อเสนอแนะ ๓) โครงการเยาวชนร่วมปกป้องผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติ จากการตรวจประเมินพบว่า ส่วนใหญ่หน่วยสามารถดำเนินโครงการฯ ได้ตามแผนงานที่ ศปป.๔ กอ.รมน. กำหนด ภายในห้วงระยะเวลาที่เหมาะสม มีการรายงานพร้อมภาพกิจกรรม และสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ครบถ้วน ผลการประเมินในระดับ ดี ๔) โครงการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บท - กอ.รมน.ภาค มีการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯ ครบถ้วน แต่ไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ แบบรายงานตรวจประเมิน (แบบรายงาน ๐๒) รายงานการตรวจประเมินหน่วยพร้อมภาพกิจกรรม - การจัดทำแผนปฏิบัติงานของ กอ.รมน.จังหวัด ส่วนใหญ่จะใช้วิธีจัดทำแผนปฏิบัติงานแบบเดือนต่อเดือน ยังไม่มีการวางแผนงานล่วงหน้าให้มีความต่อเนื่อง และการวางแผนยังไม่ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายปฏิบัติงาน
สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯปัญหาและข้อเสนอแนะ - แผนปฏิบัติงาน ส่วนใหญ่ยังไม่ได้กำหนดเป้าหมายการประเมินให้ชัดเจน และยังขาดรายละเอียดสำคัญ ส่วนใหญ่ยังไม่ได้จัดทำบัญชีหน่วยงานที่มีภารกิจตามแผนแม่บท และหน่วยงานที่รับงบประมาณขับเคลื่อนตามภารกิจของแผนแม่บท มีบางหน่วยดำเนินการเรียบร้อย - การรายงานผลการปฏิบัติพร้อมภาพกิจกรรมของ กอ.รมน.จังหวัด เป็นลายลักษณ์อักษรพร้อมภาพกิจกรรม บางหน่วยยังมีรายงานไม่ครบถ้วน - การบันทึกแบบรายงาน ๐๓ (แบบเดิม) ในรอบไตรมาสที่ ๑ และ ๒ กอ.รมน.จังหวัด ส่วนใหญ่ยังไม่ได้ดำเนินการ ในไตรมาสที่ ๓ มีการปรับปรุงแบบรายงาน ๐๑, ๐๓ (แบบใหม่) เพื่อให้หน่วยนำไปใช้เป็นหลักฐานข้อมูลในการวางแผนการปฏิบัติงานให้เกิดผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ส่วนใหญ่อยู่ในระหว่างการดำเนินการ - รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณ ส่วนใหญ่ มีการเบิกจ่ายงบประมาณครบถ้วน แต่บางหน่วยยังส่งหลักฐานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ทำให้ผลการเบิกจ่ายไม่เป็นไปตามห้วงระยะเวลาที่กำหนด ผลการประเมินอยู่ในระดับ พอใช้
สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯปัญหาและข้อเสนอแนะ ๑.๒ ด้านที่ ๒ ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) ๑) การจัดทำรายงานฐานข้อมูล ตามแบบรายงานที่ ศปป.๔ กำหนด ๑.๑) แบบรายงาน ๐๑ (สถานภาพพื้นที่ป่าไม้ทุกประเภท) ส่วนใหญ่ยังไม่สามารถจัดทำรายงานข้อมูลพื้นที่สำรวจการถือครองได้อย่างครบถ้วน ๑.๒) แบบรายงาน ๐๓ (บันทึกผลการปฏิบัติด้านการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำลายทรัพยากรป่าไม้) ส่วนใหญ่ยังไม่ได้ใช้ แบบรายงาน ๐๓ ในการบันทึกกิจกรรมตามโครงการประเมินผลงานตามแผนแม่บท ๒) ผลงานการตรวจยึด จับกุม และดำเนินคดีต่างๆที่เกี่ยวข้อง ส่วนใหญ่สามารถจัดทำรายงาน และมีการบันทึกข้อมูลการตรวจยึด จับกุม และดำเนินคดีต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับที่ดินป่าไม้ ได้อย่างครบถ้วน ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี
สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯปัญหาและข้อเสนอแนะ ๓) ผลงานการแก้ไขปัญหาและข้อเรียกร้องของประชาชนผ่านศูนย์ดำรงธรรม ส่วนใหญ่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน และปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ร่วมกับศูนย์ดำรงธรรมอย่างต่อเนื่อง แต่ไม่ได้มีการบันทึกข้อมูลเก็บไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ๔) การจัดทำเอกสารสรุปผลงานของหน่วย ส่วนใหญ่สามารถจัดทำรายงานและมีการบันทึกข้อมูล ไว้อย่างเป็นหมวดหมู่ สะดวกในการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี ๑.๓ ด้านที่ ๓ คุณภาพการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการ (Quality) ๑) การจัดทำคำสั่งประกอบการปฏิบัติงาน ๒) คำสั่งมีการบูรณาการหน่วยงานปฏิบัติอย่างเหมาะสม ๓) การบันทึกรายงานการประชุมที่เกี่ยวข้อง ๔. การนิเทศติดตามผู้ปฏิบัติงาน
สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯปัญหาและข้อเสนอแนะ ๑.๔ ด้านที่ ๔ ด้านการพัฒนาองค์กรและระบบข้อมูลสารสนเทศ ๑) การจัดทำบัญชีข้อมูลพื้นที่เป้าหมาย ๒) การจัดทำบัญชีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามแผนแม่บท ๑.๕ ด้านที่ ๕ ด้านกิจกรรมเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม (Innovation) เรื่อง ศูนย์การเรียนรู้หรือการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนหรือมีข้อมูลเป็นปัจจุบัน
สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯปัญหาและข้อเสนอแนะ ๒. สรุปปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ๑) ขาด จนท. ที่เชี่ยวชาญและขาดเครื่องมือเครื่องใช้ฯ ๒) ความไม่ชัดเจนในแนวทางการรับราชการ ๓) จนท. ขาดความรู้ ความเข้าใจด้านกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ๔) นโยบายและแนวทางปฏิบัติของแต่ละหน่วยงานไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ๕) ไม่เข้าใจในนิยามของคำว่า "ผู้ยากไร้ ผู้มีรายได้น้อย ผู้ไม่มีที่ทำกิน" ๖) กระบวนการทางกฎหมายมีช่องว่างและใช้เวลานาน
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓.๑ สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน. ภาค ๑ ๑) สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ลำดับ ชื่อหน่วยงาน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ผลการประเมิน ๑. กอ.รมน.ภาค ๑ / ๗๒ % ระดับB ๒. กอ.รมน.ภาค ๑ สย.๑ ๗๔% ระดับB ๓. กอ.รมน.ภาค ๑ สย.๒ ๗๓% ระดับB ๔. กอ.รมน.ภาค ๑ สย.๓ ๕. กอ.รมน.จังหวัด ก.จ. ๘๓ % ระดับA ๖. กอ.รมน.จังหวัด จ.บ. ๗. กอ.รมน.จังหวัด ฉ.ช. ๗๕% ระดับB ๘. กอ.รมน.จังหวัด ช.บ. ๙๐ % ระดับA * ๙. กอ.รมน.จังหวัด ป.ข. ๗๒% ระดับB ๑๐. กอ.รมน.จังหวัด ป.จ. ๑๑. กอ.รมน.จังหวัด พ.บ. ๑๒. กอ.รมน.จังหวัด ร.บ. ๗๑% ระดับB ๑๓. กอ.รมน.จังหวัด ล.บ. ๗๗% ระดับB ๑๔. กอ.รมน.จังหวัด ส.พ. ๑๕. กอ.รมน.จังหวัด ส.ก.
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ลำดับ ชื่อหน่วยงาน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ผลการประเมิน ๑๖. กอ.รมน.จังหวัด ต.ร. / ๘๒ % ระดับA ๑๗. กอ.รมน.จังหวัด ส.ป. ๘๓ % ระดับA ๑๘. กอ.รมน.จังหวัด ส.ส. ๗๗% ระดับB ๑๙. กอ.รมน.จังหวัด อ.ย. ๗๕% ระดับB ๒๐. กอ.รมน.จังหวัด ป.ท. ๒๑. กอ.รมน.จังหวัด ช.น. ๗๙% ระดับB ๒๒. กอ.รมน.จังหวัด น.ย. ๘๑ % ระดับA ๒๓. กอ.รมน.จังหวัด น.ฐ. ๒๔. กอ.รมน.จังหวัด น.บ. ๒๕. กอ.รมน.จังหวัด ร.ย. ๘๒% ระดับA ๒๖. กอ.รมน.จังหวัด ส.บ. ๙๓% ระดับA* ๒๗. กอ.รมน.จังหวัด อ.ท. ๒๘. กอ.รมน.จังหวัด ส.ค. ๒๙. กอ.รมน.จังหวัด ส.ห. ๗๘% ระดับB ๓๐. กอ.รมน. กทม. ๗๓%ระดับB สรุปผลการประเมิน กอ.รมน. ภาค ๑ อยู่ในระดับ ดี-ดีมาก หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน A=ดีมาก(๘๐-๑๐๐), B=ดี(๗๐-๗๙) C=พอใช้(๖๐-๖๙), D=ควรปรับปรุง(๕๐-๕๙) หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน A=ดีมาก(๘๐-๑๐๐), B=ดี(๗๐-๗๙) C=พอใช้(๖๐-๖๙), D=ควรปรับปรุง(๕๐-๕๙)
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓) สรุปผลการป้องกันปราบปรามการลักลอบตัดไม้และการบุกรุกพื้นที่ป่า ในพื้นที่ กอ.รมน.ภาค๑ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ เดือน การลักลอบตัดไม้ การบุกรุกพื้นที่ป่า คดี ผู้ต้องหา ไม้พะยูง ไม้สัก ไม้ชนิดอื่นๆ ไร่ งาน ตร.วา ต.ค.59 32 44 306 23 525 3 2 - 92 พ.ย.59 21 46 320 370 5 616 4 153 ธ.ค.59 27 294 35 7 606 183 ม.ค.60 28 171 319 15 1,323 18 539 ก.พ.60 25 12 296 223 24 14 2,056 19 410 มี.ค.60 22 8 476 1,151 1,832 686 เม.ย.60 30 109 552 2,547 20 6 1,541 พ.ค.60 33 317 6,032 428 406 มิ.ย.60 290 3,555 848 326 ก.ค.60 10 99 5,912 756 5,523 809 รวม 253 265 2,678 6,515 15,513 155 71 14,811 13
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๔) ปัญหาข้อขัดข้องและข้อเสนอแนะของหน่วย ๔.๑) ขาดอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน ๔.๒) ขาดแคลนอาวุธยุทโธปกรณ์ และเครื่องมือ ๔.๓) ขาดแคลนงบประมาณในการปฏิบัติงาน ๔.๔) หาก ศปป.๔ กอ.รมน. ยังคงได้รับงบประมาณในการดำเนินงานตามแผนงานโครงการฯ ต่อไป ทาง กอ.รมน.จังหวัด พิจารณาแล้วเห็นควรดำเนินการดังนี้ ๔.๔.๑) ให้ กอ.รมน.จังหวัด ทุกๆ แห่ง ได้เสนอแผนงาน/โครงการ ๔.๔.๒) กอ.รมน.จังหวัด ใดที่มีพื้นที่ป่าน้อยหรือไม่มี ให้เน้นการปฏิบัติไปที่ป่าชุมชน
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๕) ข้อคิดเห็นของหน่วย ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการฯ ตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว เกิดจาก ๕.๑) ความจริงใจ/ความร่วมมือของส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง ๕.๒) การประสานความร่วมมือกับส่วนราชการตามแผนงาน/ โครงการที่ได้รับงบประมาณตามแผนแม่บท โดยเฉพาะความจริงใจของส่วนราชการ และประการสำคัญคือ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานทุกนายที่ได้ร่วมกิจกรรมนำเสนอข้อมูลอันเป็นประโยชน์และสามารถนำผลจากการดำเนินงานไปขยายต่อกับพื้นที่อื่นๆได้ ๕.๓) นโยบายที่กำหนดแนวทางให้กับ กอ.รมน.จังหวัด ในการดำเนินงานที่ชัดเจนต่อเนื่องและความรู้ความเข้าใจในการจัดทำโครงการของหน่วยที่ต้องสื่อให้หน่วยที่เกี่ยวข้องทราบ
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓.๒ สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน. ภาค ๒ ๑) สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ลำดับ ชื่อหน่วยงาน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ผลการประเมิน ๑. กอ.รมน.ภาค ๒ / ๗๘% ระดับ B ๒. กอ.รมน.ภาค ๒ สย.๑ ๗๒% ระดับ B ๓. กอ.รมน.ภาค ๒ สย.๒ ๗๕% ระดับ B ๔. กอ.รมน.จังหวัด ก.ส. ๘๒% ระดับ A ๕. กอ.รมน.จังหวัด ข.ก. ๗๔% ระดับ B ๖. กอ.รมน.จังหวัด ช.ย. ๗. กอ.รมน.จังหวัด น.ค. ๘. กอ.รมน.จังหวัด น.พ. ๗๖% ระดับ B ๙. กอ.รมน.จังหวัด น.ภ. ๑๐. กอ.รมน.จังหวัด น.ม. ๙๐% ระดับ A * ๑๑. กอ.รมน.จังหวัด ล.ย. ๗๐% ระดับ B ๑๒. กอ.รมน.จังหวัด อ.จ. ๘๕% ระดับ A*
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ลำดับ ชื่อหน่วยงาน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ผลการประเมิน ๑๓. กอ.รมน.จังหวัด อ.ด. / ๗๘% ระดับ B ๑๔. กอ.รมน.จังหวัด อ.บ. ๘๗% ระดับ A* ๑๕. กอ.รมน.จังหวัด ส.น. ๗๙% ระดับ B ๑๖. กอ.รมน.จังหวัด ส.ร. ๘๔% ระดับ A ๑๗. กอ.รมน.จังหวัด ศ.ก. ๑๘. กอ.รมน.จังหวัด ม.ค. ๗๖% ระดับ B ๑๙. กอ.รมน.จังหวัด ม.ห. ๒๐. กอ.รมน.จังหวัด บ.ร. ๘๐% ระดับ A ๒๑. กอ.รมน.จังหวัด บ.ก. ๒๒. กอ.รมน.จังหวัด ร.อ. ๒๓. กอ.รมน.จังหวัด ย.ส. ๗๕% ระดับ B สรุปผลการประเมิน กอ.รมน. ภาค ๒ อยู่ในระดับ ดี-ดีมาก หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน A=ดีมาก(๘๐-๑๐๐), B=ดี(๗๐-๗๙) C=พอใช้(๖๐-๖๙), D=ควรปรับปรุง(๕๐-๕๙)
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๒) สรุปผลการป้องกันปราบปรามการลักลอบตัดไม้และการบุกรุกพื้นที่ป่า ในพื้นที่ กอ.รมน.ภาค ๒ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ลำดับ จังหวัด การลักลอบตัดไม้ การบุกรุกพื้นที่ป่า ผู้ต้องหา พื้นที่ป่า จำนวนคดี ปริมาตร (ลบ.ม.) พื้นที่ถูกบุกรุก(ไร่) รวม 1 ก.ส. 40 40.379 36 277-2-96 22 อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก 2 ข.ก. 18 10.012 3 43-2-74 8 อุทยานแห่งชาติน้ำพอง, ภูผาม่าน ช.ย. 34 19.731 59 689-1-39 30 อุทยานแห่งชาติภูแลนคา 4 น.ค. 10 5.48 33-0-00 9 ป่าสงวนแห่งชาติป่าพานพร้าว และป่าแก้งไก่ 5 น.พ. 20 9.71 33-0-93 อุทยานแห่งชาติภูผายล ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงเซกา 6 น.ภ. 4.32 88-3-38 ป่าอุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคำ 7 น.ม. 38 23.512 255-2-20 26 ป่าสงวนแห่งชาติแห่งป่าครบุรี บ.ก. 4.03 15-3-92 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูวัว บ.ร. 17 8.91 34-2-46 ป่าสงวนแห่งชาติป่าโคกใหญ่ ม.ค. 3.75 - ป่าสาธารณโพนฮึม
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ลำดับ จังหวัด การลักลอบตัดไม้ การบุกรุกพื้นที่ป่า ผู้ต้องหา พื้นที่ป่า จำนวนคดี ปริมาตร (ลบ.ม.) พื้นที่ถูกบุกรุก(ไร่) รวม 11 ม.ห. 45 43.217 13 1,266-3-59 อุทยานแห่งชาติภูผายล 12 ย.ส. 15 7.894 3 48-0-2 9 ป่าสงวนแห่งชาติป่าห้วย แสนลึกป่าหนองหิน ร.อ. 26 11.312 21 7-0-74 6 ป่าสงวนแห่งชาติดงแม่เผด 14 ล.ย. 38 21.976 35 1,239-3-63 28 อุทยานแห่งชาติภูเรือ ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงขุนแคม ศ.ก. 249 257.613 - 145 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าพนมดงรัก ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงแดง 16 ส.น. 41 30.092 8 21-0-76 17 อุทยานแห่งชาติภูพาน, ภูผาเหล็ก ส.ร. 133 102.640 104 - เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วย ทับทัน – ห้วยสำราญ 18 อ.จ. 25.017 34-0-98 2 - ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงคำเดือย 19 อ.ด. 24 13.984 29 98-0-88 10 - อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก - เขตป่าสงวนแห่งชาติป่านายูง-น้ำโสม 20 อ.บ. 201 179.471 103 976-3-65 110 - เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าบุณฑริก-ยอดมน -ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภูโหล่น 984 823.05 358 5,164-2-23 56
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓) ปัญหาข้อขัดข้องและข้อเสนอแนะของหน่วย ๓.๑) เจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอกับพื้นที่ป่าไม้รับผิดชอบ ๓.๒) ขาดแคลนอาวุธ เครื่องมือสื่อสาร สำหรับเจ้าหน้าที่ เพื่อใช้ในการลาดตระเวนพื้นที่ป่า ๓.๓) การเก็บรักษาไม้ของกลางเป็นภาระกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ๓.๔) ควรให้มีหนังสือถึงหน่วยงานระดับกระทรวง ขอให้แจ้งหน่วยงานในสังกัดที่ต้องรับการประเมินตามแผนแม่บทฯ ทราบ เพื่อที่จะให้ความร่วมมือในการรับประเมินจาก กอ.รมน.จังหวัด ๓.๕) แบบรายงาน ๐๑ (ใหม่) ช่องกรอกข้อมูล เดิมจำนวนพื้นที่ AO๑-๔ เปลี่ยนแปลงเป็นจำนวนพื้นที่สำรวจการถือครองที่ดิน ฯลฯ ทำให้เจ้าหน้าที่สับสนในการกรอก เนื่องจากคุ้นเคยกับการใช้พื้นที่ AO๑-๔ ๓.๖) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งมีงบประมาณน้อย ไม่เพียงพอที่จะจัดหาเครื่องมือมาใช้ในการบริหารจัดการกำจัดขยะในพื้นที่ และปัญหาพื้นที่กำจัดขยะไม่เพียงพอรองรับปริมาณขยะ ๓.๗) ชุมชนปล่อยน้ำเสียที่ไม่ผ่านการบำบัด ลงในแหล่งน้ำธรรมชาติ
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓.๓ สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน. ภาค ๓ ๑) สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ลำดับ ชื่อหน่วยงาน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ผลการประเมิน ๑. กอ.รมน.ภาค ๓ / ๗๙% ระดับ B ๒. กอ.รมน.ภาค ๓ สย.๑ (ต.ก.) ๘๙% ระดับ A ๓. กอ.รมน.ภาค ๓ สย.๒ (ช.ม.) ๗๗% ระดับ B ๔. กอ.รมน.จังหวัด ก.พ. ๘๕% ระดับ A ๕. กอ.รมน.จังหวัด ช.ม. ๗๕% ระดับ B ๖. กอ.รมน.จังหวัด ช.ร. ๗. กอ.รมน.จังหวัด ต.ก. ๘. กอ.รมน.จังหวัด น.น. ๙. กอ.รมน.จังหวัด น.ว. ๙๒% ระดับ A * ๑๐. กอ.รมน.จังหวัด พ.ช.
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ลำดับ ชื่อหน่วยงาน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ผลการประเมิน ๑๑. กอ.รมน.จังหวัด พ.ย. / ๗๕% ระดับ B ๑๒. กอ.รมน.จังหวัด พ.ร. ๗๐% ระดับ B ๑๓. กอ.รมน.จังหวัด พ.ล. ๗๒.๕๐% ระดับ B ๑๔. กอ.รมน.จังหวัด ม.ส. ๑๕. กอ.รมน.จังหวัด ล.ป. ๘๗% ระดับ A ๑๖. กอ.รมน.จังหวัด อ.ต. ๗๓.๗๕% ระดับ B ๑๗. กอ.รมน.จังหวัด อ.น. ๙๕% ระดับ A * ๑๘. กอ.รมน.จังหวัด ส.ท. ๙๐% ระดับ A * ๑๙. กอ.รมน.จังหวัด ล.พ. ๗๙% ระดับ B ๒๐. กอ.รมน.จังหวัด พ.จ. สรุปผลการประเมิน กอ.รมน. ภาค ๓ อยู่ในระดับ ดี-ดีมาก หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน A=ดีมาก(๘๐-๑๐๐), B=ดี(๗๐-๗๙) C=พอใช้(๖๐-๖๙), D=ควรปรับปรุง(๕๐-๕๙)
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๒) สรุปผลการป้องกันปราบปรามการลักลอบตัดไม้และการบุกรุกพื้นที่ป่า ในพื้นที่ กอ.รมน. ภาค ๓ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ เดือน การลักลอบตัดไม้ การบุกรุกพื้นที่ป่า สักท่อน สักแปรรูป กระยาเลยท่อน กระยาเลยแปรรูป คดี ผู้ต้องหา ไร่ งาน ตรว. ต.ค.๕๙ ๕๗ ๑,๙๘๙ ๙๑ ๕๓๐ ๒๓ ๓ ๓๘๙ - ๒๙ ๑๒ ๑ พ.ย.๕๙ ๒๖๓ ๒๕๗ ๗๘ ๒๔๗ ๒๖ ๖ ๑๕๖ ๓๒ ๔๒ ๓๙ ธ.ค.๕๙ ๑๕๔ ๒๙๕ ๘๓ ๑,๒๕๔ ๒๗ ๒๐ ๕๘๑ ๗ ๙ ม.ค.๖๐ ๑๒๒ ๔๖๗ ๔๓ ๘๐๔ ๑๑ ๒๔๘ ๒ ๖๓ ๒๔ ก.พ.๖๐ ๒๘๓ ๔๖ ๙๕ ๑,๐๓๗ ๑,๐๑๗ ๓๖ ๒๘ มี.ค.๖๐ ๔๔ ๒,๔๒๑ ๑๐๙ ๕๘๖ ๑๙๘ เม.ย.๖๐ ๘๒๙ ๓๓ ๗๒๕ ๑๓ ๗๒๘ พ.ค.๖๐ ๓๘๗ ๑,๕๕๓ ๓๒๒ ๓๔๙ ๓๕ ๑๕ ๑๑๓ มิ.ย.๖๐ ๕๗๕ ๒,๘๒๐ ๘๕ ๔๖๔ ๖๒ ๘๐๘ ๓๐ ๑๙ ก.ค.๖๐ ๑๕๐ ๑,๑๕๖ ๓๘ ๖๓๘ ๑๖ ๖๕๗ รวม ๒,๐๗๙ ๑๑,๘๓๓ ๙๗๗ ๖,๖๓๔ ๓๐๖ ๑๑๗ ๔,๘๙๕ ๒๗๐ ๒๓๘ ๗๐
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓) ปัญหาข้อขัดข้องและข้อเสนอแนะของหน่วย ๓.๑) การบรรจุกำลังพลของหน่วยไม่ตรงกับสายงาน ไม่สามารถทำงานได้เต็มเวลาของทางราชการ และมีการหมุนเวียนกำลังพลทำให้การปฏิบัติงานไม่ต่อเนื่อง ไม่มีประสิทธิภาพ ๓.๒) ขาดแคลนวัสดุและยุทโธปกรณ์ ๓.๓) ขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานทางด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานของตนเอง ๓.๔) ปัญหาการดูแลรักษาไม้ของกลาง เมื่อมีการยึดดำเนินคดีที่อยู่ระหว่างคดี พื้นที่ไม่เพียงพอ ๓.๕) การประสานงานขอข้อมูลของหน่วยงานราชการล่าช้า และไม่ส่งข้อมูล ๓.๖) เรื่องภาษาที่แตกต่าง การทำความเข้าใจยาก ๓.๗) เยาวชนยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ ๓.๘) ประชาชนให้ความร่วมมือไม่มากเท่าที่ควร ๓.๙) ส่วนราชการในพื้นที่ไม่มีการส่งเสริมและแนะนำอาชีพที่เหมาะสมกับพื้นที่การเพาะปลูกให้กับประชาชน ๓.๑๐) การทิ้งขยะไม่มีการจัดเก็บ คัดแยก ให้ถูกต้องตามวิธีการอย่างถูกหลักอนามัย ๓.๑๑) เจ้าหน้าที่ละเว้นการปฏิบัติตามระเบียบตามข้อบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติ
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓.๔ สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน. ภาค ๔ ๑) สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ลำดับ ชื่อหน่วยงาน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ผลการประเมิน ๑. กอ.รมน.ภาค ๔ / ๗๕% ระดับB ๒. กอ.รมน.ภาค ๔ สย.๑ ๓. กอ.รมน.ภาค๔ สย.๒ ๗๔% ระดับB ๔. กอ.รมน.จังหวัด ก.บ. ๙๔% ระดับA* ๕. กอ.รมน.จังหวัด ช.พ. ๘๐% ระดับA ๖. กอ.รมน.จังหวัด ต.ง. ๗. กอ.รมน.จังหวัด น.ศ. ๘. กอ.รมน.จังหวัด น.ธ. ๘๔% ระดับA ๙. กอ.รมน.จังหวัด ป.น. ๘๘% ระดับA
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓.๔ สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน. ภาค ๔ ๑) สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ลำดับ ชื่อหน่วยงาน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ผลการประเมิน ๑๐. กอ.รมน.จังหวัด พ.ง. / ๗๒% ระดับB ๑๑. กอ.รมน.จังหวัด พ.ท. ๙๔% ระดับA* ๑๒. กอ.รมน.จังหวัด ภ.ก. ๘๒% ระดับA ๑๓. กอ.รมน.จังหวัด ย.ล. ๘๘% ระดับA ๑๔. กอ.รมน.จังหวัด ร.น. ๙๓% ระดับA ๑๕. กอ.รมน.จังหวัด ส.ข. ๗๕% ระดับB ๑๖. กอ.รมน.จังหวัด ส.ต. ๙๐% ระดับA ๑๗. กอ.รมน.จังหวัด ส.ฎ. สรุปผลการประเมิน กอ.รมน. ภาค ๔ อยู่ในระดับ ดี-ดีมาก หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน A=ดีมาก(๘๐-๑๐๐), B=ดี(๗๐-๗๙) C=พอใช้(๖๐-๖๙), D=ควรปรับปรุง(๕๐-๕๙)
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๒) สรุปผลการป้องกันปราบปรามการลักลอบตัดไม้และการบุกรุกพื้นที่ป่า ในพื้นที่ กอ.รมน. ภาค ๔ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ลำดับ จังหวัด การลักลอบตัดไม้ การบุกรุกพื้นที่ป่า ผู้ต้องหา พื้นที่ป่า จำนวนคดี ปริมาตร (ลบ.ม.) พื้นที่ถูกบุกรุก(ไร่) รวม 1 ร.น. 40 40.379 162 277-2-96 ๓ อช.น้ำตกหนาว 2 พ.ท. 18 10.012 ๗๙ 43-2-74 ๖ อช.เขาปู่ย่า/เขตห้ามล่าฯทะเลน้อย 3 ย.ล. 34 19.731 ๔๒ ๒๖๖-3-๒๕ ๗ อช.บางลาง 4 ป.น. 10 5.48 ๗๐ ๖๐-๓-๖๐ 9 เขตห้ามล่าสัตว์ป่าป่าพุทุ่งยางแดง 5 ก.บ. 18.06 ๒๑ ๒๒๗-2-๒๒ ๙ อช.หาดนพรัตน์เกาะพีพี อช.คลองพระยา 6 พ.ง. - ๓๙ ๕๖๔-3-๓๔ ๒ อช .เขาหลักลำคู่ 7 ภ.ก. 8 ต.ง. 1.38 90 555-3-๒๔ อช.หาดเจ้าไหม
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๒) สรุปผลการป้องกันปราบปรามการลักลอบตัดไม้และการบุกรุกพื้นที่ป่า ในพื้นที่ กอ.รมน. ภาค ๔ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ลำดับ จังหวัด การลักลอบตัดไม้ การบุกรุกพื้นที่ป่า ผู้ต้องหา พื้นที่ป่า จำนวนคดี ปริมาตร (ลบ.ม.) พื้นที่ถูกบุกรุก(ไร่) รวม 9 ส.ข. 17 8.91 8 ๑๑๔-๒-๔๐ 6 อช.เขตห้ามล่าทะเลสาบสงขลา 10 น.ศ. 55.39 ๑๒๙ ๑๖๖-๑-๓๓ - อช.เขานันสี่ขีด 11 ส.ต. 1 0.43 ๑๔ ๕๖-2-๔๑ ๓ อช.ทะเลบัน 12 น.ธ. 15 7.894 3 ๒๗๐-๓-๒๐ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าพุโต๊ะแดง 13 ช.พ. 26 11.312 21 ๕๐๐1-3-๓๒ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่ากรมหลวงชุมพร 14 ส.ฎ. 38 21.976 35 ๓๘๐-๒-๕๐ ๒ อช.เกาะพะงัน ๒๑๘ 200.095 ๗๑๓ 8040 -3 -77 ๖๒
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๓) ปัญหาข้อขัดข้องและข้อเสนอแนะของหน่วย ๓.๑) ปัญหาการบุกรุกพื้นที่ของรัฐทั้งพื้นที่ของป่าบกและป่าชายเลนที่อยู่ระหว่างการดำเนินการมีเป็นจำนวนมาก ๓.๒) การจัดเก็บขยะมูลฝอยซึ่งไม่สามารถกำจัดได้หมดและมีปริมาณขยะตกค้างจำนวนมาก ๓.๓) การขาดอัตราบุคลากรและเจ้าหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ๓.๔) การขาดเครื่องมือและอุปกรณ์การปฏิบัติงานในพื้นที่ ๓.๕) ความไม่ชัดเจนของระดับนโยบายของรัฐ
สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด ๔) ข้อเสนอแนะของหน่วย ๔.๑) การเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ป่าไม้ ที่ดิน แร่ธาตุ น้ำ) ปัจจุบันยังคงมีความเหลื่อมล้ำไม่เท่าเทียมกัน และยังไม่มีความเป็นธรรม ๔.๒) การส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน ป่าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติในรูปแบบคณะกรรมการชุมชนและอาสาสมัคร ๔.๓) ให้รัฐจัดสรรที่ทำกินเหมาะกับอาชีพใหม่และวิถีชีวิตเจ้าบ้าน ๔.๔) ใช้กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม ๔.๕) สร้างแรงจูงใจให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน ๔.๖) ปลูกจิตสำนึกในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ๔.๗) การเร่งรัดกระบวนการบังคับใช้กฎหมาย ๔.๘) ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและผลเสียที่เกิดขึ้น
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ๒๕๖๐ งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ศปป.4 กอ.รมน. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ผลผลิตโครงการป้องกันและฟื้นฟูป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติ จำนวน 4 โครงการ จำนวนเงินทั้งสิ้น 99,781,800.- บาท ดังนี้ ลำดับ โครงการ ได้รับจัดสรร เงินงวดที่ 1 (ต.ค.59–มี.ค.60) เงินงวดที่ 2 (เม.ย.60– ก.ย.60) จำนวน จำนวน เงิน แผนงานอนุรักษ์ฟื้นฟูและป้องกัน ทรัพยากรธรรมชาติจำนวน 4 โครงการ 1 โครงการ ขับเคลื่อนกลไก การป้องกันและ แก้ไขปัญหาด้าน ความมั่นคงพิเศษ -จัดประชุมเชิง ปฏิบัติการ 5 ครั้ง 2,100,0 00 - 2 โครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพด้าน ป้องกันปราบปราม การบุกรุกและ ทำลาย ทรัพยากรธรรมชา ติ 10,130 วัน (ชป.ลว. ชุดละ10 นาย ปฏิบัติ ชป.ละ 100 -160 วัน) 35,930, 483 5,140 วัน ลาดตระเ วน ชป. ละ 50 -80 วัน) 18,178, 415 4,990 วัน 17,752, 068
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ๒๕๖๐ ลำดับ โครงการ ได้รับจัดสรร เงินงวดที่ 1 (ต.ค.59–มี.ค.60) เงินงวดที่ 2 (เม.ย.60– ก.ย.60) จำนวน จำนวน เงิน 3 โครงการเยาวชน ร่วมปกป้องผืนป่า และ ทรัพยากรธรรมช าติ - อบรมด้าน ทรัพยากรธรรมช าติป่าไม้ - อบรมด้าน สิ่งแวดล้อม พลังงานและ อาหาร (รวมเยาวชน ได้รับการอบรม ทั้งสิ้น 55,980 คน) 345 รุ่น 179 รุ่น (รุ่นละ220 คน) 166 รุ่น (รุ่นละ100 คน) 29,233, 960 20,642, 300 8,591,6 60 194 รุ่น 117 รุ่น 77 รุ่น 17,350, 690 13,054, 860 4,295,8 30 151 รุ่น 62 รุ่น 89 รุ่น 11,883, 270 7,587,4 40
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ๒๕๖๐ ลำดับ โครงการ ได้รับจัดสรร เงินงวดที่ 1 (ต.ค.59–มี.ค.60) เงินงวดที่ 2 (เม.ย.60– ก.ย.60) จำนวน จำนวน เงิน 4 โครงการ ประเมินผลการ ปฏิบัติงานตาม แผนแม่บท 1,218 ครั้ง 32,517,3 57 648 18,140,3 20 570 14,377,0 37 รวม 4 โครงการ 99,781, 800 55,769, 425 44,012, 375
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ๒๕๖๐ การใช้จ่ายงบประมาณ คิดเป็นร้อยละ สรุปการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2560 ตัดยอด ณ 28 ส.ค.60 คิดเป็น ร้อยละ ดังนี้ ลำดับ โครงการ การใช้จ่ายงบประมาณ คิดเป็นร้อยละ ภาค 1 ภาค 2 ภาค 3 ภาค 4 1 โครงการขับเคลื่อนกลไกป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงพิเศษ 100 97.3 2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านป้องกันปราบปรามการบุกรุกและทำลาย ทรัพยากรธรรมชาติ 91.8 96.3 95.8 83.3 3 โครงการเยาวชนร่วมปกป้องผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติ 99.9 97.71 99 95.9 4 โครงการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บท 91 95.7 73.4
แผนงาน/โครงการ ประจำปีงบประมาณ 2561 ลำดับ แผนงาน/โครงการ จำนวนเงิน 1 โครงการขับเคลื่อนกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงพิเศษ 2,000,000 (การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จำนวน 5 ครั้ง) ศปป.4ฯ ดำเนินการ จำนวน 1 ครั้ง (ผู้เข้าร่วมการอบรม จำนวน 142 คน) 824,800 กอ.รมน.ภาค 1-3 ดำเนินการ (ผู้เข้าร่วมการอบรม จำนวน 70 คน) ค่าใช้จ่ายภาคละ 302,600 บาท 907,800 กอ.รมน.ภาค 4 ดำเนินการ (ผู้เข้าร่วมการอบรม จำนวน 60 คน) 267,400 2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านป้องกันปราบปรามการบุกรุกและทำลายทรัพยากรธรรมชาติ (ดำเนินการลาดตระเวน จำนวน 7,440 วัน) 27,000000 ศปป.4ฯ (จัดชุดปฏิบัติการ จำนวน 2 ชุด 190 วัน) ประกอบด้วย ค่าเบี้ยเลี้ยง/ค่าเช่าที่พัก/ค่าวัสดุ/ค่า สป.3 ) 1,210,727 กอ.รมน.ภาค/สย./จังหวัด (จำนวน 7,250 วัน) ประกอบด้วย ค่าเบี้ยเลี้ยง / ค่า สป.3 25,789,723 3 โครงการเยาวชนร่วมปกป้องผืนป่าและทรัพยากรธรรมชาติ 14,000,000 จัดอบรมสร้างการรับรู้ด้านทรัพยากรป่าไม้ จำนวน 250 รุ่นๆละ 110 คน ค่าใช้จ่ายรุ่นละ 56,000 บาท
แผนงาน/โครงการ ประจำปีงบประมาณ 2561 ลำดับ แผนงาน/โครงการ จำนวนเงิน 4 โครงการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บท 20,000,000 4.1 การเดินทางไปราชการเพื่อการติดตามและประเมินผล ศปป.4 ฯ ดำเนินการ จำนวน 38 ครั้ง 1,932,600 กอ.รมน.ภาค 1-4/ สย. รวม 120 ครั้ง 3,780,640 กอ.รมน.จังหวัด จังหวัดละ 8 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 616 ครั้ง (77 x 8) 11,255,090 4.2 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ (ประเภท ข. )ในพื้นที่ กอ.รมน.ภาค 1-4 ศปป.4ฯ ดำเนินการรวม 4 ครั้ง ค่าใช้จ่ายครั้งละ 536,140 บาท (ผู้เข้ารับการอบรมครั้งละ 120 คน) 2,145,640 4.3 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแถลงผลการประเมิน (ประเภท ก.) ศปป.4ฯ ดำเนินการ จำนวน 1 ครั้ง (ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 264 คน) 886,030
แผนงาน/โครงการ ประจำปีงบประมาณ 2561 ลำดับ แผนงาน/โครงการ จำนวนเงิน 5 โครงการประสานงานเพื่อการป้องกันและแก้ไขด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พลังงาน และอาหาร 12,405,700 5.1 การเดินทางไปราชการในพื้นที่ กอ.รมน.ภาค 1-4 จำนวน 18 ครั้งๆ ละ 35,125 บาท 632,250 โดย ศปป.4 ฯ ดำเนินการ 5.2 จัดอบรมด้านพิทักษ์ สิ่งแวดล้อม พลังงาน และอาหาร จำนวน 202 รุ่นๆ ละ 110 คน ค่าใช้จ่ายรุ่นละ 56,000 บาท โดยโอน กอ.รมน.ภาค/จังหวัด ดำเนินการ 11,312,000 5.3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จำนวน 1 ครั้ง (ประเภท ข. ) โดย ศปป.4 ฯ ดำเนินการ ผู้เข้ารับการอบรม 182 คน 461,450 รวมงบประมาณทั้งสิ้น 75,405,700
แผนผังการดำเนินโครงการฯ ที่ได้รับงบประมาณ จาก ศปป.๔ กอ.รมน. งบประมาณ กิจกรรม การรายงาน ๑. โครงการขับเคลื่อนกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงพิเศษ ๒. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้าน ป้องกันปราบปรามการบุกรุกและ ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ๓.โครงการเยาวชนร่วมปกป้องผืนป่า และทรัพยากรธรรมชาติ ๔. โครงการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯ ๕. โครงการประสานงานเพื่อการป้องกันและแก้ไขด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พลังงาน และ อาหาร จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จัดชุดปฏิบัติการฯ จัดการอบรมด้านป่าไม้ จัดชุดติดตามประเมินผลฯ จัดอบรมด้านสิ่งแวดล้อม พลังงานและอาหาร เมื่อเสร็จสิ้นการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ เมื่อจบภารกิจ / รอบเดือน เมื่อเสร็จสิ้นการอบรมฯ รอบเดือน / ไตรมาส จัดทำแผนงาน/โครงการ ศปป.๔ กอ.รมน. ส่วนแผนงาน/โครงการ ส่วนเสริมสร้างความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานและอาหาร ตรวจติดตามงาน/ประเมินผลฯ - ประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อแถลง ผล การประเมินผล การปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ
แผนผังการดำเนินโครงการฯ ที่ได้รับงบประมาณ จาก ศปป.๔ กอ.รมน. งบประมาณ กิจกรรม การรายงาน ๑. โครงการขับเคลื่อนกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงพิเศษ ๒. โครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพด้านป้องกัน ปราบปรามการบุกรุกและ ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ๓. โครงการเยาวชนร่วม ปกป้องผืนป่าและ ทรัพยากรธรรมชาติ ๔. โครงการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯ ๕. โครงการประสานงานเพื่อการป้องกันและแก้ไขด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พลังงาน และ อาหาร จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จัดชุดปฏิบัติการฯ จัดการอบรมด้านป่าไม้ จัดชุดติดตามประเมินผลฯ จัดอบรมด้านสิ่งแวดล้อม พลังงานและอาหาร เมื่อเสร็จสิ้นการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ เมื่อจบภารกิจ / รอบเดือน เมื่อเสร็จสิ้นการอบรมฯ รอบเดือน / ไตรมาส จัดทำแผนงาน/โครงการ ศปป.๔ กอ.รมน. ส่วนแผนงาน/โครงการ ส่วนเสริมสร้างความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานและอาหาร ติดตามงาน/ประเมินผลฯ - ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อแถลงผล การ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ
สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนแม่บทฯ ของหน่วย กอ.รมน.ในพื้นที่ กอ.รมน. ภาค ๑ – ๔ โดย ศปป.๔ กอ.รมน.