ทิศทางการดำเนินงานของศูนย์อนามัยที่ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
การแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2560 และการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย 23 สิงหาคม 2559.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
ชมรมจริยธรรมศูนย์ฯ๗.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
WORKSHOP TASK1 การจัดทำ Individual Scorecard
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การจัดทำแผนเงินบำรุง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 13 ตุลาคม 2559
การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข
ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
การประชุม เจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ 6 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560
นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
Cluster วัยเรียน ปีงบประมาณ 2562
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการดำเนินงานของศูนย์อนามัยที่ 6 ปีงบประมาณ 2560 นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ณ ห้องประกายพฤกษ์ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี 7 ตุลาคม 2559

2

โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริบทสุขภาพคนไทย บริบทสุขภาพคนไทย ความเป็น สังคมเมือง สังคมผู้สูงอายุ โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความก้าวหน้า Technology 3

P eople centered approach M astery Retreat MOPH ทิศทางกระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน H umility O riginality P eople centered approach M astery MOPH เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน 4

แผน 20 ปี กสธ. ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) สู่ความยั่งยืน นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข ประเทศไทย 4.0 แผนปฏิรูป ประชารัฐ กรอบแนวคิด ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) สู่ความยั่งยืน Phase3 (2570-2574) ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 (2565-2569) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 (2575-2579) 5

Retreat DOH ทิศทางกรมอนามัย Dream Design Drive Dream Design Drive Re-role Re-structure Re-treat Re-role Re-structure Head Heart Hands Head Heart Hands Lead Lean Learn Lead Lean Learn Retreat DOH 6

เป็นองค์กรหลักของประเทศใน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์ ใช้ความรู้ และดูภาพรวม เพื่อกำหนดนโยบายและออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี Health Model เป็นต้นแบบสุขภาพ Ethics มีจริยธรรม Achievement มุ่งผลสัมฤทธิ์ Learning เรียนรู้ ร่วมกัน Trust เคารพและเชื่อมั่น Harmony เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน HEALTH ภาคีเครือข่ายและเจ้าหน้าที่มีความสุข ประชาชนสุขภาพดี ระบบอนามัยยั่งยืน (ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) 7

ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues) 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม 3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล 8

เป็นองค์กรหลักของประเทศใน ประเด็นเน้นหนัก ปี 2560 - 2564 เป็นองค์กรหลักของประเทศใน การอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี s2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน s3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม s4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล S1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แม่ และเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ G4 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ G5 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม G1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย G6 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี G7 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี G8 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน Active Communities) G9 ภาคีเครือข่ายภาครัฐร่วมด้าเนินการ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม G10 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) KPI 19จำนวนงานวิจัยและนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ระดับนโยบาย (กระทรวง)และกลไกการขับเคลื่อนนโยบาย (เขตสุขภาพ) KPI 1 อัตราส่วนมารดาตายต่อการเกิดมีชีพแสนคน KPI7 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อปชก.หญิงอายุ 15-19 ปี พันคน G2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย KPI 5 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ KPI 11 ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ KPI 13 อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) KPI 17 ร้อยละของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ และดำเนินการจนได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด KPI 8 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี ต่อปชก.หญิงอายุ 10-14 ปี พันคน G11 เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) KPI 2 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสมวัย KPI15 ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพ ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน KPI 20การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) G3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน KPI 9 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี KPI 6 ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ด้านการบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย และทันตสุขภาพ KPI 12 ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ KPI 3 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี G12 เป็นองค์กรที่มี ธรรมาภิบาล KPI 14 ร้อยละของกลุ่มผู้สูงอายุ มีฟันแท้อย่างน้อย 24 ซี่ KPI 18 ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ KPI 10ร้อยละของวัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ และฟันไม่ผุ KPI16 จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการเฝู้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม KPI 21คะแนนการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ตามระบบ ITA โดย ปปท. KPI 4 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปีฟันไม่ผุ 9 P I R A B H E A L T H

แผนที่ยุทธศาสตร์ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรธรรมาภิบาลที่มีความเป็นเลิศด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายในปี 2564 ค่านิยมองค์กร : MOPH [Mastery , Originality , People-centered approach, Humility ] พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร ตามหลักธรรมา ภิบาล โดยการมีส่วนร่วม พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ พร้อมด้วยจริยธรรม คุณธรรม พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพ & อนามัยสิ่งแวดล้อม แบบบูรณาการ พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศ และเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ คุณภาพ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีนวัตกรรม&เทคโนโลยี&องค์ความรู้ ด้าน สส.&สวล. ที่เหมาะสมกับบริบท ประสิทธิผล มีระบบการจัดการสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย มีความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการจัดการสุขภาพ ประสิทธิภาพ บุคลากรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการองค์กร มีระบบการบริหารจัดการที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ พัฒนาองค์กร บุคลากรเป็น มืออาชีพด้านวิชาการ บุคลากรมีจริยธรรม คุณธรรม ความผาสุก เป็นศูนย์ฝึกอบรม & องค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็นคลังข้อมูล ด้านสส.&สวล.

ความสอดคล้องยุทธศาสตร์ ศูนย์ฯ 6 กระทรวงฯ กรมอนามัย พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร ตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วม 1) ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ s1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 2) บริการเป็นเลิศ s2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ พร้อมด้วยจริยธรรม คุณธรรม 3) บุคลากรเป็นเลิศ s3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพ & อนามัยสิ่งแวดล้อม แบบบูรณาการ 4) บริหารจัดการ เป็นเลิศ s4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและ มีธรรมาภิบาล พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศ และเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

สรุป แผนงาน โครงการ และตัวชี้วัดที่จะประเมิน ตาม PA ปลัดกระทรวง และตรวจราชการ ปี งบประมาณ 2560 (14 แผนงาน 28 ตัวชี้วัด) ตรวจราชการ (14 แผนงาน 39 ตัวชี้วัด) หน่วยงานหลัก ผู้รับผิดชอบ (Focal Point) 1. Prevention & Promotion Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) แผนงานที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) 3 โครงการ 3 ตัวชี้วัด 3 โครงการ 6 ตัวชี้วัด 1. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทย กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 1) อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน กรมอนามัย   2) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 2) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 2. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทย กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 3) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน 4) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 5) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี 3.โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทย กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 3) ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ 6) ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/กรมอนามัย/กรมการแพทย์ แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 1 โครงการ 1 ตัวชี้วัด โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 11)ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 15) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital กรมอนามัย/กรมควบคุมโรค

10

Assessment Advocacy Intervention ระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม คนไทยมีอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 72 ปี (HALE) ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Community) A2 I M. (3ป 1บ) Assessment Advocacy Intervention Management/ Governance (Regulate & Technical Support) (ประเมิน) (เป็นปากเป็นเสียง) (ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ & อวล) (บริหาร/อภิบาล) Investigate Diagnosis Classified - เป้าหมายอนาคตของถนนชีวิต และสุขภาพ 5 กลุ่มวัย - High touch & tech in PA , Nutrition, Oral Health Promote to Excellence ระดับประเทศ/กระทรวง ระดับเขต/จังหวัด/ อำเภอ ระดับท้องถิ่น/ชุมชน Inform, educate, and empower people about Health & Env.H. issues - Mobilize community partnership s and actions to identify and solve Health & Env.H. problem เครือข่าย ระดับนโยบาย Model Development Health &En.H. Provincial Profile Healthy Settings Health& Env.H.City Profile Monitor Normal Policy + Law EHA - Assure Quality of service ( Health Promotion & Env.) - Improve accessibility - Law & Regulation Protection ระบบประเมินรับรอง Health Promotion & Env. Surveillance Data & Information Analysis Prediction Health & Env.H. status & situation By กระทรวงสาธารณสุข RISK สสส. สช. คร. สปสช. สบส. เขตสุขภาพ/ศอ. อสธจ. อปท. Eliminate Reduction - Appropriate Health Behavior, and lifestyle - PA - Target - Nutrition - Target - Env. -> Intervention -  Morbidity & Mortality in all group ตำบลบูรณาการ ILL รพ.สต. อสม./ แกนนำ ชุมชน DOH (EnH Cluster + 5 กลุ่มวัย Cluster) Strategy -Technical Support โดยการ Regulate t เฝ้าระวัง 6 Cluster (5 กลุ่มวัย + อนามัยสิ่งแวดล้อม) 5 มิติ (Risk factor, Protective factor, Promoting intervention, Health outcome, Life impact) 36 ตัวชี้วัด เช่น มารดาตาย, พัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน, คลอดซ้ำในวัยรุ่น, BMI ปกติ, พฤติกรรมที่เหมาะสม, การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ … ect สสจ. DHS สสอ./ รพช. Support/ Regulate Support/ Regulate Improve Maintain ภาคีเครือข่ายระดับท้องถิ่น/ชุมชน ภาคีเครือข่ายระดับเขต/จังหวัด - Specific age group Health Promotion Program - Appropriate Health Behavior and lifestyle - PA - Target - Nutrition – Target - Env. -> Intervention Morbidity & Mortality in all group Build Capacity 11

ภาคี กลไกการขับเคลื่อนงาน สส.&สวล.ศูนย์อนามัยที่ 6 (CBP) DHS ศอ.6 INPUT PROCESS OUTPUT OUTCOME นโยบาย กสธ./กรม อ. อปสข. DATA ตรวจราชการ 43 แฟ้ม/HDC สำรวจ/ประ เมิน/เฝ้าระวัง ภาคี สพป พม ชุมชน อปท อสม ชมรมฯ เอกชน อื่นๆ CIO/ CSO DHS กก.เขต สุขภาพ 6BB+ กก.เขต สุขภาพ 5 กลุ่มวัย ศอ.6 Access of service Quality of service Reduce risk Improved health 6 cluster ของศูนย์ Empowerment Participation Regional Lead ภัยทางสุขภาพ Public health policy, Health ENV, Healthy city, Health literacy, Self care , Essential care Lead Lean Learn Surveillance Ottawa Bangkok Service Plan Field Res. PP intervention R&D กก.อื่นๆ Clinical Res. Techno” transfer ศูนย์วิชาการ สสจ. M&E

งบประมาณ 2560 ; 12,403,700 บาท เป้าหมายการเบิกจ่าย 1,276,300 6,764,200 แผนงานบุคลากรภาครัฐ แผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพคน ตามช่วงวัย แผนบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาด้านสาธารณสุขเชิงรุก 1,276,300 6,764,200 3,180,000 1,083,200 100,000 เป้าหมายการเบิกจ่าย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 30% (ประชุม/อบรม > 50%) 52% 73% 96% 3,721,110 6,449,924 9,054,701 11,907,552

ระบบการติดตาม&ประเมินผล (Intensive M & E) ประชุมประเมินผลการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน 12 เดือน Evaluation นิเทศงานร่วมกับทีมตรวจราชการ กสธ. ทุกวันจันทร์ที่ 3 ทุกเดือน กบศ. กวป. หัวหน้ากลุ่ม รายบุคคล (โปรแกรมการรายงานผลการปฏิบัติงาน) ทุกวันจันทร์ที่ 4 ทุกเดือน Monitoring ทุกสัปดาห์ ทุกครั้งที่ไปราชการ ประชุม จนท.ศูนย์ฯ ทุก 2 เดือน (ศุกร์ที่ 4)

แผนการ ติดตาม & ประเมินผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน กิจกรรม ตุลาคม 59 พฤศจิกายน 59 ธันวาคม 59 มกราคม 60 กุมภาพันธ์ 60 มีนาคม 60 สัปดาห์ 1 2 3 4 ประชุมกบศ.   จ. ที่ 17 ที่ 21 ที่ 19 ที่ 16 ที่ 20 ประชุมกวป. ที่ 31 ที่ 28 ที่ 26 ที่ 23 ที่ 27 หัวหน้ากลุ่ม รายบุคคล ประชุม จนท.ศูนย์ฯ  ศ. ที่ 24

Thank you