โครงการประจำปีงบประมาณ 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2559
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน ทิศทางการขับเคลื่อน ศส.ปชต. ให้มีความยั่งยืน.
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการประจำปีงบประมาณ 2559 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร

โครงการประจำปีงบประมาณ 2559 1. โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (SMART FARMER) 2. โครงการพัฒนาเครือข่ายงานส่งเสริมการเกษตร (อาสาสมัครเกษตร) 3. โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร 4. โครงการตลาดเกษตรกร (FARMER MARKET)

โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (SF) วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้เป็น SF ให้เกษตรกรมีศักยภาพด้านการผลิต การแปรรูป การตลาด ในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร - เพื่อสร้างเครือข่าย SF ต้นแบบ ศูนย์เรียนรู้ฯ ให้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนร่วมกัน สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเกษตรกรรายอื่นๆ ได้อย่างเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ - เพื่อพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ให้เป็น YSF และเชื่อมโยงเครือข่าย YSF

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ/วิธีการดำเนินงาน พัฒนา SF (สมาชิกแปลงใหญ่) จำนวน 141 ราย กิจกรรมที่1 วิเคราะห์ศักยภาพเกษตรกรและจัดทำแผนพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (SF) รายแปลง กิจกรรมที่2 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้จัดการพื้นที่กับกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมที่3 ประเมินศักยภาพเกษตรกรหลังจากการพัฒนา

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ/วิธีการดำเนินงาน พัฒนาและสร้างเครือข่าย SF ต้นแบบ จากศูนย์เรียนรู้ฯ ระดับจังหวัด จำนวน 13 ราย (ศูนย์ละ 1 ราย) กิจกรรมที่1 วิเคราะห์ศักยภาพเกษตรกรจัดทำแผนพัฒนา SF ต้นแบบ และสร้างเครือข่าย SF ต้นแบบระดับจังหวัด กิจกรรมที่2 ประเมินศักยภาพเกษตรกรหลังจากการสร้างเครือข่าย SF ต้นแบบระดับจังหวัด

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ/วิธีการดำเนินงาน พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น YSF จำนวน 30 ราย โดยแบ่งการจัดกระบวนการเรียนรู้ ดังนี้ ระยะที่ 1 การปรับกระบวนทัศน์ สร้างแรงจูงใจ จัดทำแผนชีวิต (แผนการผลิต แผนการตลาด) ระยะที่ 2-3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับเกษตรกรรุ่นใหม่ เพื่อรายงานการเรียนรู้และ ประสานงานเชื่อมโยงแหล่งความรู้ที่เหมาะสม ระยะที่ 4 จัดเวทีนำเสนอผลงานจากการเรียนรู้ของเกษตรกรรุ่นใหม่ และให้เกษตรกร วางแผนอนาคต

หมายเหตุ  การดำเนินงาน ทั้ง 3 กิจกรรม ในการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (SF) สมาชิกแปลงใหญ่ ให้พิจารณาบูรณาการร่วมกับโครงการต่างๆที่จัดสรรลงพื้นที่ สำนักงานเกษตรจังหวัด สรุปรายงานผลการพัฒนาและ สร้างเครือข่ายและจัดทำทำเนียบ SF ต้นแบบระดับจังหวัด พร้อมบันทึกผลการถอดบทเรียนลงใน www.thaismartfarmer.net

หมายเหตุ  สำนักงานเกษตรจังหวัด นำแบบประเมิน YSF ในระยะที่ 1 และระยะที่ 4 มาวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินลงใน www.thaismartfarmer.net สำนักงานเกษตรจังหวัด สรุปรายงานผลการพัฒนาเกษตรกร รุ่นใหม่ให้เป็น YSF จัดทำทำเนียบเกษตรกรรุ่นใหม่ ทำเนียบวิทยากร และผลการติดตามนำความรู้ไปปฏิบัติให้ กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ

แผนการดำเนินงานโครงการ งาน/โครงการ/กิจกรรม/ขั้นตอน ปริมาณ (ราย/กลุ่ม) งบประมาณ (บาท) สถานที่ดำเนินการ พ.ย. 58 ธ.ค. ม.ค. 59 ก.พ. มี.ค. เม.ษ. 1) พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง SF สมาชิกแปลงใหญ่ 92 36,800 3 อำเภอ 1.1 วิเคราะห์ศักยภาพเกษตรกรฯและจัดทำแผนฯ 18,400  1.2 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ 1.3 ประเมินศักยภาพเกษตรกรหลังจากการพัฒนา 2) พัฒนาและสร้างเครือข่าย SF ต้นแบบ ศูนย์เรียนรู้ 13 10,400 2.1 วิเคราะห์ศักยภาพฯและจัดทำแผนฯ 5,200 จังหวัด 2.2 ประเมินศักยภาพเกษตรกร 3)พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น YSF 30 36,000 3.1ปรับแนวคิด จัดทำแผนพัฒนาตนเอง 12,000 3.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชื่อมโยง 3.3 เสนอผลงาน วางแผนอนาคต สรุปผล

โครงการอาสาสมัครเกษตร วัตถุประสงค์ - เพื่อสร้างระบบโครงสร้างอาสาสมัครเกษตรและระบบกลไกการทำงานของ อาสาสมัครเกษตร - เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่ม/เครือข่าย และภาคีเครือข่าย - เพื่อจัดทำสื่อการสร้างความรู้ความเข้าใจงานเครือข่าย สำนักงานเกษตรจังหวัด สรุปรายงานผลการพัฒนาเกษตรกร รุ่นใหม่ให้เป็น YSF จัดทำทำเนียบเกษตรกรรุ่นใหม่ ทำเนียบวิทยากร และผลการติดตามนำความรู้ไปปฏิบัติให้ กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ/วิธีการดำเนินงาน ขับเคลื่อนงานอาสาสมัครเกษตร จำนวน กิจกรรมที่1 ประชุมคณะกรรมการบริหารอาสาสมัครเกษตรจังหวัด จำนวน 2 ครั้ง (จังหวัดดำเนินการ) กิจกรรมที่2 ประชุมคณะกรรมการอาสาสมัครเกษตรจังหวัด

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ/วิธีการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายอาสาสมัครเกษตร จำนวน กิจกรรมที่1 จัดเวทีเครือข่ายอาสาสมัครเกษตรอำเภอ จำนวน 2 ครั้ง (จังหวัดดำเนินการ) กิจกรรมที่2 จัดเวทีเครือข่ายอาสาสมัครเกษตรจังหวัด

แผนการดำเนินงานโครงการอาสาสมัครเกษตร งาน/โครงการ/กิจกรรม/ขั้นตอน ปริมาณ (ราย/กลุ่ม) งบประมาณ (บาท) สถานที่ดำเนินการ ธ.ค. 58 ม.ค. 59 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1) ขับเคลื่อนงานอาสาสมัครเกษตร 16,000 1.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารงานอาสาสมัครเกษตรจังหวัด 2 ครั้ง 2,400 จังหวัด  1.2 ประชุมคณะกรรมการอาสาสมัครเกษตรจังหวัด 17 ราย 13,600 2) ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายอาสาสมัครเกษตร 118,400 2.1 เครือข่ายอาสาสมัครเกษตรอำเภอ 218 87,200 2.2 เครือข่ายอาสาสมัครเกษตรจังหวัด 39 31,200

โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร “พัฒนาองค์กรเกษตรกร (3ก) สู่ Smart Group”

วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร และกลุ่มยุวเกษตรกร ให้สามารถวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่มให้สอดคล้องกับสินค้าและพื้นที่ และจัดทำแผนพัฒนาศักยภาพเพื่อให้มีพลังในการขับเคลื่อนงานในรูปแบบของการรวมกลุ่มและพัฒนาไปสู่เครือข่ายกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการประกอบอาชีพการเกษตรให้สามารถพึ่งพาตนเอง มีความมั่นคงทางอาชีพ และมีความเป็นอยู่ที่ดี 2. ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะของกลุ่ม ส่งเสริมอาชีพการเกษตร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร และกลุ่มยุว เกษตรกร ในการดำเนินกิจกรรมกลุ่มเพื่อเพิ่มรายได้ เกิด เครือข่ายการดำเนินงานร่วมกัน

วัตถุประสงค์ (ต่อ) 3. ยกย่องเชิดชูเกียรติ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ผลงาน ดีเด่นของเกษตรกรและองค์กรเกษตรกรที่เป็นต้นแบบที่ดีให้เป็นที่ ประจักษ์แก่บุคคลทั่วไป และเป็นแบบอย่างในการประกอบอาชีพ ด้านการเกษตร 4. ส่งเสริมและพัฒนายุวเกษตรกร ผู้นำยุวเกษตรกร และที่ ปรึกษายุวเกษตรกร ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ กระบวนการยุวเกษตรกร การประกอบอาชีพการเกษตร เทคโนโลยีการเกษตร

กิจกรรม เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตร ราย 180 120,000 หมายเหตุ พัฒนาองค์กรเกษตรกร (3ก) สู่ Smart Group 1.จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาองค์กรเกษตรกร (3ก) 1.1 วิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์กรเกษตรกร 36,000 จังหวัด 1.2 อบรมถ่ายทอดความรู้ 1.3 ฝึกปฏิบัติตามแผนพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร กลุ่ม 3 12,000 อำเภอ 1.4 สัมมนาเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายองค์กรเกษตรกร ระดับจังหวัด 90

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ สมาชิกขององค์กรเกษตรกร จำนวน 180 ราย ได้แก่ 1. สมาชิกกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จำนวน 3 กลุ่มๆ ละ 20 ราย รวม 60 ราย เป้าหมาย ได้แก่ - อำเภอเมืองสระบุรี จำนวน 20 ราย - อำเภอดอนพุด จำนวน 20 ราย - อำเภอพระพุทธบาท จำนวน 20 ราย

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ (ต่อ) สมาชิกขององค์กรเกษตรกร จำนวน 180 ราย ได้แก่ 2. สมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน 3 กลุ่มๆ ละ 20 ราย รวม 60 ราย เป้าหมาย ได้แก่ - อำเภอวิหารแดง จำนวน 20 ราย - อำเภอบ้านหมอ จำนวน 20 ราย - อำเภอพระพุทธบาท จำนวน 20 ราย

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ (ต่อ) สมาชิกขององค์กรเกษตรกร จำนวน 180 ราย ได้แก่ 3. สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกร จำนวน 3 กลุ่มๆ ละ 20 ราย รวม 60 ราย เป้าหมาย ได้แก่ - อำเภอดอนพุด จำนวน 20 ราย - อำเภอหนองแค จำนวน 20 ราย - อำเภอหนองแซง จำนวน 20 ราย

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ (ต่อ) 4. สมาชิกขององค์กรเกษตรกร (3ก) จำนวน 3 ประเภทๆ ละ 30 ราย รวม จำนวน 90 ราย เป้าหมาย ได้แก่ 4.1 สมาชิกกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จำนวน 3 กลุ่มๆ ละ 10 ราย รวม 30 ราย ได้แก่ - อำเภอเมืองสระบุรี จำนวน 10 ราย - อำเภอดอนพุด จำนวน 10 ราย - อำเภอพระพุทธบาท จำนวน 10 ราย

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ (ต่อ) 4. สมาชิกขององค์กรเกษตรกร (3ก) จำนวน 3 ประเภทๆ ละ 30 ราย รวม จำนวน 90 ราย เป้าหมาย ได้แก่ 4.2 สมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน 3 กลุ่มๆ ละ 10 ราย รวม 30 ราย ได้แก่ - อำเภอวิหารแดง จำนวน 10 ราย - อำเภอบ้านหมอ จำนวน 10 ราย - อำเภอพระพุทธบาท จำนวน 10 ราย

เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ (ต่อ) 4. สมาชิกขององค์กรเกษตรกร (3ก) จำนวน 3 ประเภทๆ ละ 30 ราย รวม จำนวน 90 ราย เป้าหมาย ได้แก่ 4.3 สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกร จำนวน 3 กลุ่มๆ ละ 10 ราย รวม 30 ราย ได้แก่ - อำเภอดอนพุด จำนวน 10 ราย - อำเภอหนองแค จำนวน 10 ราย - อำเภอหนองแซง จำนวน 10 ราย

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน พัฒนาองค์กรเกษตรกร (3ก) สู่ Smart Group แนวทางการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ (1) กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จำนวน 3 กลุ่ม - คัดเลือกกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จำนวน 1 กลุ่ม ที่เป็น Smart Group (ตามเกณฑ์การประเมินศักยภาพองค์กรเกษตรกร) เพื่อพัฒนาเป็นกลุ่มต้นแบบ (Smart Group Model) โดยพิจารณาคัดเลือกกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรที่มีผลงานเด่น ซึ่งสอดคล้องกับพืชยุทธศาสตร์และพื้นที่ของจังหวัด เป็นลำดับแรก รองลงมาให้พิจารณากลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการและมีความพร้อมในการพัฒนาต่อยอดเป็นศูนย์เรียนรู้

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) - คัดเลือกกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จำนวน 2 กลุ่ม เพื่อพัฒนาเป็น Smart Group โดยพิจารณาคัดเลือกกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรที่มีความสนใจ มีศักยภาพ และพร้อมที่จะพัฒนาสู่ Smart Group ทั้งนี้ ในการคัดเลือกกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรทั้ง 3 กลุ่ม หากมีกลุ่มที่เข้าร่วมการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ และมีคุณสมบัติตามที่กำหนด ให้พิจารณาคัดเลือกเข้าร่วมโครงการก่อนเป็นลำดับแรก

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) (2) กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน 3 กลุ่ม - คัดเลือกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน 1 กลุ่ม ที่เป็น Smart Group (ตามเกณฑ์การประเมินศักยภาพองค์กรเกษตรกร) เพื่อพัฒนาเป็นกลุ่มต้นแบบ (Smart Group Model) โดยพิจารณาคัดเลือกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 1 ระดับจังหวัดที่ส่งเข้าประกวดกลุ่มในปี 2559 เป็นลำดับแรก รองลงมาให้พิจารณากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการและมีความพร้อมในการพัฒนาต่อยอดเป็นศูนย์เรียนรู้ - คัดเลือกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน 2 กลุ่ม เพื่อพัฒนาเป็น Smart Group โดยพิจารณาคัดเลือกจากกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรดีเด่นระดับอำเภอ หรือกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่ร่วมกิจกรรมส่งเสริมเคหกิจเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหารในครัวเรือนชุมชนเป็นลำดับแรก รองลงมาให้พิจารณากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่มีความสนใจมีศักยภาพ และพร้อมที่จะพัฒนาสู่ Smart Group

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) (3) กลุ่มยุวเกษตรกร จำนวน 3 กลุ่ม - คัดเลือกกลุ่มยุวเกษตรกร จำนวน 1 กลุ่ม ที่เป็น Smart Group (ตามเกณฑ์การประเมินศักยภาพองค์กรเกษตรกร) เพื่อพัฒนาเป็นกลุ่มต้นแบบ (Smart Group Model) โดยพิจารณาคัดเลือกกลุ่มยุวเกษตรกรดีเด่นอันดับที่ 1 ระดับจังหวัด เป็นลำดับแรก รองลงมาให้พิจารณากลุ่มยุวเกษตรกรที่มีศักยภาพและมีความพร้อมในการยกระดับเป็นกลุ่มต้นแบบ - คัดเลือกกลุ่มยุวเกษตรกร จำนวน 2 กลุ่ม เพื่อพัฒนาเป็น Smart Group โดยพิจารณาคัดเลือกกลุ่ม ยุวเกษตรกรดีเด่นระดับอำเภอ เป็นลำดับแรก รองลงมาให้พิจารณากลุ่มยุวเกษตรกรที่มีความสนใจ มีศักยภาพ และพร้อมที่จะพัฒนาสู่ Smart Group

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาองค์กรเกษตรกร (3ก) สู่ Smart Group 1) สำนักงานเกษตรจังหวัดร่วมกับสำนักงานเกษตรอำเภอดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่สมาชิกของกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จำนวน 3 กลุ่มๆ ละ 20 ราย สมาชิกของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 3 กลุ่มๆ ละ 20 ราย และสมาชิกของกลุ่มยุวเกษตรกร 3 กลุ่มๆ ละ 20 ราย

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) 2) จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นให้กลุ่ม/องค์กรเกษตรกรเป็นศูนย์กลางและออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่ม และจัดทำแผนการเรียนรู้ และแผนการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่ม ระยะเวลา 1 วัน ระยะที่ 2 การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนากลุ่มตามแผนที่จัดทำไว้ในระยะที่ 1 โดยการอบรมถ่ายทอดความรู้ ระยะเวลา 1 วัน และสนับสนุนค่าวัสดุสำหรับฝึกปฏิบัติตามแผนพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร ระยะที่ 3 การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายองค์กรเกษตรกรระดับจังหวัด โดยคัดเลือกจากสมาชิกกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร 3 กลุ่มๆ ละ 10 ราย กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรและคณะกรรมการบริหารกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรระดับจังหวัด 3 กลุ่มๆ ละ 10 ราย กลุ่มยุวเกษตรกรและที่ปรึกษายุวเกษตรกร 3 กลุ่มๆ ละ 10 ราย รวมประเภทละ 30 ราย ระยะเวลา 1วัน เพื่อนำเสนอผลจากการเรียนรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย วางแผนอนาคต สรุปบทเรียน ประเมินผล และประเมินศักยภาพกลุ่มตามเกณฑ์ประเมินศักยภาพ

กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) 3) จัดทำสรุปรายงานผลการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาองค์กรเกษตรกร (3ก) สู่ Smart Group ให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ เงื่อนไข เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานต้องผ่านการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร ก่อน จึงจะสามารถดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาองค์กรเกษตรกร (3ก) ให้แก่สมาชิกกลุ่มได้

แผนปฏิบัติงาน

ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ผลผลิต (Output) 1. เจ้าหน้าที่ มีความรู้และทักษะในการจัดกระบวนการวิเคราะห์และประเมินศักยภาพกลุ่ม และการจัดทำแผนพัฒนากลุ่ม 2. สมาชิกกลุ่ม 180 ราย ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม/สินค้าที่สอดคล้องกับพื้นที่ 3. มีแผนพัฒนาศักยภาพกลุ่ม 9 กลุ่ม 4. กลุ่มมีการดำเนินกิจกรรมพัฒนากลุ่มในการบริหารจัดการกลุ่ม 6 ด้าน พัฒนาเป็น Smart Group 9 กลุ่ม และกลุ่มมีกิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็น Smart Product 3 ผลิตภัณฑ์ 5. เครือข่ายองค์กรเกษตรกรระดับจังหวัด 90 ราย

ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (ต่อ) ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (ต่อ) ผลลัพธ์ (Outcome) 1. องค์กรเกษตรกรเข้มแข็งเป็น Smart Group สมาชิกมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการกลุ่ม ใน 6 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการองค์กร การบริหารทุนและทรัพยากร การจัดการผลประโยชน์ของสมาชิก การพัฒนาความรู้ความสามารถของสมาชิกและองค์กรเกษตรกร การให้ความสำคัญกับชุมชน และการบริหารจัดการองค์กรเชิงธุรกิจ 2. องค์กรเกษตรกรมีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม ผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเป็น Smart Product มีรายได้ต่อเนื่องตลอดทั้งปี และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายองค์กรเกษตรกร

ตัวชี้วัดกระบวนงาน 1. ร้อยละสมาชิกขององค์กรเกษตรกร (กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร และกลุ่มยุวเกษตรกร) มีความสามารถในการบริหารจัดการกลุ่ม ใน 6 ด้าน ต่อไปนี้ - ด้านการบริหารจัดการองค์กร - ด้านการบริหารทุนและทรัพยากร - ด้านการจัดการผลประโยชน์ของสมาชิก - ด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถของสมาชิกและองค์กรเกษตรกร - ด้านการให้ความสำคัญกับชุมชน - ด้านการบริหารจัดการองค์กรเชิงธุรกิจ

ตัวชี้วัดกระบวนงาน (ต่อ) 2. จำนวนเจ้าหน้าที่ที่สามารถดำเนินการจัดกระบวนการวิเคราะห์และประเมินศักยภาพกลุ่มได้ 3. จำนวนเกษตรกร/องค์กรเกษตรกรที่สามารถเป็นต้นแบบในการเรียนรู้

โครงการตลาดเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ 2559 “พัฒนาสู่ความเป็นตลาดเกษตรกรระดับพรีเมี่ยม”

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างศักยภาพด้านการตลาด แก่เจ้าหน้าที่ และเกษตรกร 2. เพื่อพัฒนาสินค้าในตลาดเกษตรกร สู่ระดับสินค้าพรีเมี่ยม 3. เพื่อให้เกิดโครงการลักษณะ Corporate Social Responsibility (CSR) ระดับภาคเอกชนกับตลาดเกษตรกร ในพื้นที่

กิจกรรม และวิธีการดำเนินงาน สนับสนุนตลาดเกษตรกร จำนวน 1 แห่ง งบประมาณ 10,000 บาท

ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่ ได้รับความรู้เรื่อง หลักการตลาด ผลลัพธ์ เจ้าหน้าที่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 สามารถนำความรู้ไปบริหารจัดการตลาดเกษตรกร

โครงการกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการธุรกิจและขยายผลตลาดเกษตรกร - ขยายผลตลาดเกษตรกร จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ อำเภอมวกเหล็ก แก่งคอย พระพุทธบาท เสาไห้ บ้านหมอ หนองแค - สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับตลาดเกษตรกร 510,000 บาท - ป้ายประชาสัมพันธ์ตลาดเกษตรกร 6 ป้าย 18,000 บาท

หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี 1. นางถาวร ภู่ขาว หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร 2. นางประภาพร บรรจง เจ้าพนักงานการเกษตรชำนาญงาน 3. ว่าที่ร้อยตรีวรรณศักดิ์ วรรณกุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ 4. นางสาวศิริทรัพย์ จบเจนภัย นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ 5. นายอนุวัฒน์ คงสว่าง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ