งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2559
นายพิษณุ นิตย์ใหม่ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นายบรรทร สังข์ศร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ นางสาวจิตรลดา แก้วคำ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี

2 1. พัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน(ศจช.)
1.1 จัดกระบวนการเรียนรู้สมาชิก ศจช.แบบมีส่วนร่วม - ศจช.เครือข่ายที่จัดตั้งในปี 2559 จำนวน 13 ศจช (13 อำเภอ) โดยบูรณาการกับการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรและการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ - ศจช. ละ 30 ราย จัดกระบวนการเรียนรู้ 3 ครั้ง (เดือนธันวาคม, มกราคม และกุมภาพันธ์) - ศจช.ที่ดำเนินการต้องมีแปลงสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ควรจัดตั้งปลายเดือนพฤศจิกายน ถึงต้นเดือนธันวาคม อำเภอละ 1 ศูนย์

3 ตามกรอบงานส่งเสริมการเกษตร ปี 2559 โครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ต้องบูรณาการโครงการดำเนินงานในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรและการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ ดังนั้น การดำเนินงานโครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2559 จึงมีเป้าหมายดำเนินงานในจุดเดียวกันกับโครงการ/กิจกรรมอื่นๆ ดังนี้

4 ที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร/ ศจช
ที่ตั้งศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร/ ศจช.เครือข่ายที่จัดตั้งในปี 2559 อำเภอ ตำบล X Y ศูนย์เรียนรู้ กิจกรรม หนองแค ห้วยขมิ้น 702508 นายร่ม วรรณประเสริฐ ลดต้นทุนการผลิตข้าว หนองแซง โคกสะอาด 693767 นายบุญชู วงษ์อนุ เฉลิมพระเกียรติ ห้วยบง 705941 นายสัมฤทธิ์ สวัสดิ์สุข พระพุทธบาท ธารเกษม 692534 นายพนม สุขมาก เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เสาไห้ เมืองเก่า 697125 นายประสิทธิ์ แก้วกุลงาม บ้านหมอ บางโขมด 688837 นายทองสุข อ่อนละมัย หนองโดน 648431 นายทวี ทองมา วิหารแดง เจริญธรรม 716913 นายสุทัศน์ หมวกไสว แก่งคอย ตาลเดี่ยว 716789 นายบรรยัด สุมาวัน เพิ่มผลผลิตข้าว วังม่วง แสลงพัน 727986 นายวิจิตร แก่นวิจิตร ลดต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ดอนพุด 674706 นางประชุมพร แก้วชาติ มวกเหล็ก ซับสนุ่น 745799 นายสมพร อาภาศิริกุล ลดต้นทุนการผลิตมันสำปะหลัง เมือง หนองยาว 703653 นายประทีป นิลมูล

5 1. พัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน(ศจช.) (ต่อ)
1.2 สนับสนุนวัสดุการผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ - สำรวจความต้องการใช้วัสดุผลิตขยายศัตรูธรรมชาติของ ศจช.หลักที่ดำเนินการในโครงการฯ ปี 2558 และศจช.เครือข่ายที่ได้รับคัดเลือกหรือตั้งใหม่ปี 2559 1.3 พัฒนาเครือข่าย ศจช. - จัดเวทีเสวนาพัฒนาเครือข่าย ศจช.ระดับจังหวัด (เจ้าหน้าที่ และประธานหรือกรรมการ ศจช.เครือข่าย ศจช.ละ 2ราย) 1 ครั้ง เดือนมีนาคม 2559

6 1. พัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน(ศจช.) (ต่อ)
1.4 การประกวด ศจช.ดีเด่นระดับจังหวัด - เดือน มิถุนายน 2559 2. ปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีของเกษตรกร 2.1 รณรงค์ลด ละ การใช้สารเคมีเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - ศจช.ใน อ.เมือง, อ.แก่งคอย, อ.พระพุทธบาท, อ.มวกเหล็ก และ อ.วังม่วง - ตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร(เดือนธันวาคม 2558 และเดือนสิงหาคม 2559 - ตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลผลิตการเกษตร

7 3. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่
3.1 พัฒนาศักยภาพตัวเจ้าหน้าที่ - อบรมพัฒนาในลักษณะการให้ความรู้ ควบคู่กับการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ระดับเขต, จังหวัด, อำเภอ (เขตดำเนินการ) 3.2 สนับสนุนวัสดุพื้นฐานสำหรับการปฏิบัติงานด้านอารักขาพืช - วิเคราะห์ศักยภาพด้านวัสดุ อุปกรณ์ ขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้สำหรับการปฏิบัติงานด้านอารักขาพืชตามภารกิจ

8 4. พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนการระบาดศัตรูพืช
4.1 กำหนดแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืชมันสำปะหลัง - จำนวน 17 แปลง แปลงติดตามสถานการณ์ฯ หลัก 1 แปลง และแปลงติดตามสถานการณ์ฯรอบแปลงหลัก 16 แปลง - แปลงติดตามสถานการณ์ฯ หลัก คือ ในบริเวณที่ตั้งของสถานีตรวจบันทึกและข้อมูลสภาพแวดล้อมของ Gistda หรือบริเวณใกล้เคียง (สถานีวิจัยแสลงพัน ต.แสลงพัน อ.วังม่วง) - แปลงติดตามสถานการณ์ฯ รอบแปลงติดตามสถานการณ์ฯ หลัก 4 ทิศๆละ 4 แปลง โดยห่างจากแปลงติดตามสถานการณ์ฯ หลักที่ระยะ 5, 10, 15 และ 20 กิโลเมตร

9 4. พัฒนาระบบติดตาม พยากรณ์ และเตือนการระบาดศัตรูพืช(ต่อ)
- แปลงเดิมหรือพื้นที่ใกล้เคียง ในปี 2558 ในพื้นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อ.วังม่วง จำนวน 8 แปลง, อ.มวกเหล็ก จำนวน 2 แปลง, อ.แก่งคอย จำนวน 6 แปลง และ อ.พระพุทธบาท จำนวน 1 แปลง 4.2 สำรวจติดตามสถานการณ์ (อกม.) - เก็บข้อมูลสภาพแวดล้อม บันทึกลงในแบบบันทึกข้อมูล ทุกวันจันทร์ ภายในเวลา น. และบันทึกข้อมูลผ่านระบบรายงานแปลงพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืชออนไลน์ภายในวันพุธก่อนเวลา 12.00น.

10 5. เพิ่มศักยภาพการจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ
5.1 การจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว - ถ่ายทอดความรู้การควบคุมศัตรูมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว 30 ราย 1 ครั้ง เดือนกุมภาพันธ์ 2559

11 โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิต ประจำปีงบประมาณ 2559
โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิต ประจำปีงบประมาณ 2559 กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี

12 เป้าหมาย/สถานที่ดำเนินการ
1) ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน จำนวน 13 ศูนย์ ซึ่งจัดตั้งในปีงบประมาณ 2557 – 2558 จำนวน 5 ศูนย์ (ศูนย์เดิม) และจัดตั้งในปีงบประมาณ 2559 จำนวน 8 ศูนย์ (ศูนย์ใหม่) 2) เจ้าหน้าที่เกษตรตำบลที่รับผิดชอบศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนเป้าหมายหลัก ปีงบประมาณ 2559 จำนวน 13 ราย

13 ที่ตั้งศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศจช) ที่เข้าร่วมโครงการ ปีงบประมาณ 2559
อำเภอ ตำบล X Y ศูนย์เรียนรู้ กิจกรรม หนองแค ห้วยขมิ้น 702508 นายร่ม วรรณประเสริฐ ลดต้นทุนการผลิตข้าว หนองแซง โคกสะอาด 693767 นายบุญชู วงษ์อนุ เฉลิมพระเกียรติ ห้วยบง 705941 นายสัมฤทธิ์ สวัสดิ์สุข พระพุทธบาท ธารเกษม 692534 นายพนม สุขมาก เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เสาไห้ เมืองเก่า 697125 นายประสิทธิ์ แก้วกุลงาม บ้านหมอ บางโขมด 688837 นายทองสุข อ่อนละมัย หนองโดน 648431 นายทวี ทองมา วิหารแดง เจริญธรรม 716913 นายสุทัศน์ หมวกไสว แก่งคอย ตาลเดี่ยว 716789 นายบรรยัด สุมาวัน เพิ่มผลผลิตข้าว วังม่วง แสลงพัน 727986 นายวิจิตร แก่นวิจิตร ลดต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ดอนพุด 674706 นางประชุมพร แก้วชาติ มวกเหล็ก ซับสนุ่น 745799 นายสมพร อาภาศิริกุล ลดต้นทุนการผลิตมันสำปะหลัง เมือง หนองยาว 703653 นายประทีป นิลมูล

14 ผู้รับผิดชอบ » สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต
1. ขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) 1.1 จัดฝึกอบรมความรู้ด้านดินปุ๋ยแก่เจ้าหน้าที่ดินปุ๋ยระดับอำเภอและศูนย์ปฏิบัติการ ผู้รับผิดชอบ » สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต เป้าหมาย » เจ้าหน้าที่เกษตรตำบลที่รับผิดชอบศูนย์ จัดการดินปุ๋ยชุมชน 13 ศูนย์ กิจกรรม » ฝึกอบรมความรู้ด้านดินเพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้สามารถแนะนำแก้ไขปัญหาด้านดินปุ๋ยแก่เกษตรกร และสามารถเป็นพี่เลี้ยง

15 ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรอำเภอ
1. ขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) 1.2 จัดทำฐานข้อมูล ศดปช. ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรอำเภอ กิจกรรม » จัดเก็บข้อมูลกิจกรรมตามโครงการฯ และปรับปรุงข้อมูลสมาชิกศดปช. ให้เป็นปัจจุบัน (ขอข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มตามเอกสารที่แจกให้ภายในวันที่ 27 พ.ย. 58 เพื่อวางแผนประชุมระดับจังหวัด)

16 ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี
2 พัฒนาศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) 2.1 สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของ ศดปช. ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี เป้าหมาย » ศดปช 13 ศูนย์หลัก และศูนย์เครือข่าย กิจกรรม » จัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของ ศดปช.

17 ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี
2 พัฒนาศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) 2.2 จัดเวทีสร้างเครือข่าย ศดปช. เพื่อลดต้นทุนการผลิต ระดับจังหวัด ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี เป้าหมาย » ผู้แทนจาก ศดปช. หลัก ศูนย์ละ 2 ราย คือ ประธานศูนย์ 1 รายและสมาชิก 1 ราย กิจกรรม » จัดเวทีสร้างเครือข่ายศดปช. เพื่อลดต้นทุนการผลิต ระดับจังหวัด จำนวน 2 ครั้ง ระยะเวลาครั้งละ 1 วัน คือ ช่วงเดือน พ.ย. 58 และเดือน ก.พ. 59

18 3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 3
3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 3.1 จัดกระบวนการเรียนรู้ด้านดินปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิต ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรอำเภอ เป้าหมาย » เกษตรกรสมาชิก ศดปช. ศูนย์ละ 20 ราย กิจกรรม » จัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ระยะเวลาตามแผน » ครั้งที่ 1 เดือน ธ.ค. 2558 ครั้งที่ 2 เดือน มี.ค. 2559

19 แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้
ครั้งที่ 1 แลกเปลี่ยนผลการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินหรือปุ๋ยสั่งตัดในปีที่ผ่านมา ทบทวนวิธีการเก็บตัวอย่างดิน เน้นความรู้การใช้ปุ๋ยถูกสูตรและถูกอัตรา ถูกเวลาและถูกวิธี การจัดการแก้ไขความเป็นกรดเป็นด่างของดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง การนัดการนำตัวอย่างดินที่จะเก็บมาตรวจวิเคราะห์ในงานรณรงค์การใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต หรือเวทีการเรียนรู้ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 2 ฝึกตรวจ/ตรวจวิเคราะห์ดิน และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควรมีการกำหนดให้มีเวทีเสวนาย่อย โดยเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จมาให้คำแนะนำแก่เกษตรกรสมาชิก

20 3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 3
3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 3.2 จัดทำแปลงเรียนรู้การใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต (ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี) ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรจังหวัดร่วมกับสำนักงาน เกษตรอำเภอ เป้าหมาย » ศดปช. หลักจำนวน 13 ศูนย์ (13 แปลง) กิจกรรม » คัดเลือกเกษตรกรสมาชิกของ ศดปช. จัดทำแปลงเรียนรู้การจัดการดินและการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต (ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี) » ดำเนินการจัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ และปัจจัยการผลิตที่จำเป็นในการดำเนินการจัดทำแปลงเรียนรู้ » จัดเก็บข้อมูลผลการเข้าร่วมโครงการฯแปลงเรียนรู้ให้สำนักงานเกษตรจังหวัดเพื่อส่งต่อข้อมูลให้แก่กรมส่งเสริมการเกษตร

21 3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 3
3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 3.3 จัดทำจุดสาธิตการผลิตปุ๋ยอินทรีย์/ไถกลบตอซัง ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรอำเภอ เป้าหมาย » ศดปช. หลักจำนวน 13 ศูนย์ (13 แปลง) กิจกรรม » จัดซื้อ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ และปัจจัยการผลิต ที่จำเป็นในการจัดทำจุดสาธิตจัดทำจุดสาธิตการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและ/หรือไถกลบตอซัง หรือปลูกพืชตระกูลถั่วเป็นปุ๋ยพืชสดแล้วไถกลบ » รายงานผลการดำเนินงาน

22 4. ขยายผลการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 4
4. ขยายผลการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 4.1 จัดงานรณรงค์ขยายผลการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต ผู้รับผิดชอบ » สำนักงานเกษตรจังหวัด เป้าหมาย » จังหวัดละ 1 แห่ง (1 อำเภอ) กิจกรรม » จัดงานรณรงค์ขยายผลการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิตร่วมกับ ศดปช. จำนวน 1 ครั้ง ระยะเวลา 1 วัน เพื่อรณรงค์ให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต มีการจัดการดินและใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินหรือปุ๋ยสั่งตัด ร่วมกับการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง ระยะเวลาตามแผน » เดือน ส.ค. 2559


ดาวน์โหลด ppt โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google