วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
การประเมินรายงาน การวิจัย (An Evaluation of Research Report) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีระ ครึกครื้น จิตร ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน.
การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อการบริหารงานของ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบุคลากร โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับผู้ใต้บังคับบัญชา.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
ตอนที่ 4 ชื่อเรื่อง คุณลักษณะของบุคลากรทางการศึกษา ที่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษา ผู้วิจัย รศ. ดร. สุวิมล ว่องวานิช คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปีที่วิจัย.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
ศึกษาการบริหารจัดการ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนประภัสสรวิทยาชลบุรี กุลนิษฐ์ ศิลป์อุดม.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โดย ดร. สิทธิชัย มูลเขียน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
รายงานสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ระดับสูง ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน และ รายงานสถานะ การดำเนินงานของมคอ. 2 – มคอ. 7 1 วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรม เอเชียแอร์
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
FA Interview.
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
หน่วยงานที่มีการจัดทำแผนและดำเนินการตามแผน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556    

      ประวัติผู้วิจัย นางสุภาวรัตน์ ภุมมาลี ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสำนักงานฝ่ายประกันคุณภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา   

  วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และปัจจัยที่สนับสนุนการดำเนินงาน ประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556

  ประชากร ที่ใช้คือ ผู้บริหาร ครู และบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา จำนวน 107 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในฯ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ความถี่ , ค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย ( x ) และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

  ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื่องจากการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และจากผลการประกันคุณภาพภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ในปีการศึกษา 2556 ยังมีบางมาตรฐานที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ผู้วิจัยซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพ จึงมีแนวความคิดที่จะวิเคราะห์ปัจจัยที่จะส่งผลให้การประกันคุณภาพภายในของทางวิทยาลัย มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ของหน่วยงานต้นสังกัด

  กรอบแนวคิดการวิจัย

ด้านประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ผลการวิจัย ด้านประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน (ตัวอย่าง) ข้อ ประเด็น ระดับความคิดเห็น ด้านประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน X S.D. ระดับ 1 การจัดหน่วยงานรับผิดชอบงานประกันคุณภาพ 4.17 0.68 มาก 2 การกำหนดแผนปฏิบัติงานประกันคุณภาพ 4.08 0.61 3 การจัดบุคลากรรับผิดชอบด้านงานประกันคุณภาพ 4.21 0.64 4 สถานที่สำหรับหน่วยงานประกันคุณภาพ 4.04 0.67 5 งบประมาณในการสนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพเพียงพอ 3.75 0.90 6 เครื่องมือ อุปกรณ์ สนับสนุนงานประกันคุณภาพเพียงพอ 3.71 0.93

สรุปผลการวิจัย ประชากร. ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 57. 01 สรุปผลการวิจัย ประชากร *ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 57.01 *อายุประชากรส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 31-40 ปี ร้อยละ 31.77 รองลงมาคือ 41-50 ปี ร้อยละ 29.90 *บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็น ครู ร้อยละ 74.76 รองลงมาคือ บุคลากร ร้อยละ 16.83 *วุฒิการศึกษาสูงสุดส่วนใหญ่เป็น ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 74.76 รองลงมาคือ ระดับปริญญาโท ร้อยละ 14.95 *ประสบการณ์การทำงานส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 17-25 ปี ร้อยละ 40.18 รองลงมาคือ 1-8 ปี ร้อยละ 33.64

สรุปผลการวิจัย ประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน สรุปผลการวิจัย ประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน *ผลการวิจัย พบว่า โดยรวมของประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.03 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .73 *เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ จากทั้งหมด 10 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า การจัดบุคลากรรับผิดชอบด้านงานประกันคุณภาพ มีค่าเฉลี่ย 4.21 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .64 ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า เครื่องมือ อุปกรณ์ สนับสนุนงานประกันคุณภาพเพียงพอ มีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .93

สรุปผลการวิจัย ประสิทธิผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน สรุปผลการวิจัย ประสิทธิผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน *ผลการวิจัย พบว่า โดยรวมของประสิทธิผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.91 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .69 *เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ จากทั้งหมด 10 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า วิทยาลัย มีการสรุปและจัดทำรายงานการประเมินตนเอง(SAR)ส่งต้นสังกัด เป็นประจำทุกปี มีค่าเฉลี่ย 4.19 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .72 ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า วิทยาลัย มีการปรับปรุงแก้ไข จุดอ่อน เพื่อให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด มีค่าเฉลี่ย 3.80 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .72

สรุปผลการวิจัย ปัจจัยที่สนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน สรุปผลการวิจัย ปัจจัยที่สนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน *ผลการวิจัย พบว่า โดยรวมของปัจจัยที่สนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.73 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .70 * เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ จากทั้งหมด 10 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า วิทยาลัย มีการกำหนดนโยบายด้านการประกันคุณภาพภายในไว้อย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ย 3.94 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .59 ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า มีบุคลากรในการดำเนินงานประกันคุณภาพอย่างเพียงพอ มีค่าเฉลี่ย 3.52 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .79  

ข้อเสนอแนะ *ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้ ให้บุคลากรและครู ได้รับความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในอย่างสม่ำเสมอ * ควรศึกษาการประเมินผลการ ดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของทางวิทยาลัย เป็นประจำทุกปีอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำผลมาปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น