ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี การพัฒนาความรู้ เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสาร ตามลำดับตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี ปีการศึกษา 2559 ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี

ที่มาและความสำคัญ

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาความรู้ เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสารตามลำดับตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี ปีการศึกษา 2559 เพื่อเปรียบเทียบผลคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนจากการทำแบบทดสอบ เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสารตามลำดับตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี ปีการศึกษา 2559

กรอบแนวคิด ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น ความรู้ เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสารตามลำดับตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เทคนิคการเรียนรู้ แบบร่วมมือ รูปแบบ STAD

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกพาณิชยกรรม สาขาธุรกิจสถานพยาบาล ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี ที่ลงทะเบียนเรียน ในรายวิชาการจัดเก็บเอกสาร (2203-2003) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้วิจัยเลือกใช้กลุ่มประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่างโดยเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกพาณิชยกรรม สาขาธุรกิจสถานพยาบาล ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการจัดเก็บเอกสาร (2203-2003) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน ซึ่งการเลือกกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวผู้วิจัยใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ปฐมนิเทศนักเรียนกลุ่มตัวอย่างเพื่อทำความเข้าใจ ดำเนินการจัดการเรียนการสอน (รูปแบบปกติ) ประเมินผลครั้งที่ 1 (ก่อน) ดำเนินการจัดการเรียนการสอน (รูปแบบ STAD) แบ่งกลุ่มตัวอย่างตามผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบ ประเมินผลครั้งที่ 2 หลัง

วิเคราะห์ผลการวิจัย แผนภูมิแสดง ผลการวิเคราะห์การพัฒนาความรู้ เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสารตามลำดับตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD

วิเคราะห์ผลการวิจัย แผนภูมิแสดง ผลการวิเคราะห์การพัฒนาความรู้ เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสารตามลำดับตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD พบว่า ผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบของนักเรียนก่อนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 12.02 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.43 และหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 25.80 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.34 และนักเรียนมีผลคะแนนของพัฒนาการเฉลี่ย เท่ากับ 13.77

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ผลต่าง วิเคราะห์ผลการวิจัย ตารางแสดง ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนจากการทำแบบทดสอบ เรื่อง ระบบการจัดเก็บเอกสารตามลำดับตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD การทดสอบ คะแนนเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ค่าเฉลี่ย ของผลต่าง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ผลต่าง T-test df Sig. ก่อนเรียน 12.02 4.43 13.77 3.02 20.343 19 .000 หลังเรียน 25.80 3.34 พบว่าผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบของนักเรียนก่อนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 12.02 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.43 และหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ได้ค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 25.80 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.34 ทดสอบค่า T-test เท่ากับ 20.343 เมื่อดำเนินการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD นักเรียนมีผลคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ผลคะแนนก่อนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD นักเรียนสามารถทำแบบทดสอบได้ค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 12.02 และหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD นักเรียนสามารถทำแบบทดสอบได้ค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 25.80 โดยระดับค่า T-test เท่ากับ 20.343 แสดงให้เห็นได้ว่านักเรียนมีผลคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ครบทุกขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การจัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (เก่ง–ปานกลาง–อ่อน) 2) ให้สมาชิกในกลุ่มศึกษาเนื้อหาสาระที่มอบหมายร่วมกัน 3) ผู้เรียนทุกคนทำแบบทดสอบและประเมินผล 4) เสริมแรง ชื่นชม ให้รางวัลสำหรับกลุ่มที่ได้ผู้คะแนนสูงสุด (ทิศนา แขมมณี, 2551, น.64-70) ทั้งนี้ในแต่ละกระบวนการผู้วิจัยยังได้สอดแทรกกิจกรรมต่างๆที่ให้นักเรียนได้ร่วมกันระดมความคิด พูดคุย อภิปรายร่วมกัน ที่สำคัญมีการถ่ายทอดความรู้ จากนักเรียนที่เรียนเก่งไปยังสมาชิกคนอื่นภายในกลุ่ม เพื่อให้สมาชิกทุกคนเกิดการเรียนรู้ไปพร้อม ๆกัน ซึ่งภาพที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือนักเรียนที่มีคะแนนผลการเรียนสูงและปานกลาง จะช่วยสอนและอธิบายเนื้อหาให้กับเพื่อนสมาชิกที่ผลคะแนนอยู่ในเกณฑ์ต่ำได้อย่างเข้าใจจนสามารถทำแบบทดสอบได้

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย 1. ครูผู้สอนจะต้องเข้าใจบทบาทของตนเองว่าการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือนั้น ครูผู้สอนจะเป็นเพียงผู้ให้ข้อคิด ข้อเสนอแนะ ชี้ข้อบกพร่องตลอดจนให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติและเข้าใจด้วยตนเองมากที่สุด 2. ควรจัดกลุ่มนักเรียนให้คละความสามารถอย่างชัดเจน ตามเนื้อหาการเรียนรู้ที่สอนเพื่อให้สมาชิกเกิดพฤติกรรมกลุ่มร่วมมือในการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการเรียนการสอน ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD กับการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือรูปแบบอื่นๆ 2. ควรศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD