ฝึกปฏิบัติ กระบวนการแผนพัฒนาหมู่บ้าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
Advertisements

ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฝึกปฏิบัติ กระบวนการแผนพัฒนาหมู่บ้าน โดย ประหยัด พุดจีบ โทร. 08-1976-3301 prayat.multi@gmail.com

การวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้าน/ชุมชน ๑ การวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้ได้ สิ่งดี – สิ่งไม่ดี ในหมู่บ้าน สถานการณ์ดี – สถานการณ์ไม่ดี นอก หมู่บ้าน

วิเคราะห์ข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชน สิ่งดี ในหมู่บ้าน สิ่งไม่ดี สถานการณ์ดี นอกหมู่บ้าน สถานการณ์ไม่ดี

ข้อมูลและสารสนเทศรอบด้าน วิเคราะห์ข้อมูล จปฐ. กชช๒ค ทุนชุมชน แผนที่ภูมิศาสตร์ ข้อมูลด้านสุขภาพ คำบ่นคนในหมู่บ้าน เวทีประชาคม

ข้อคำถามเปิดประเด็นปัญหา คณะทำงาน กม. บริหารจัดการ ปกครองความสงบ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ชีวิตประจำวัน อาหารการกิน ความปลอดภัย อาชีพ รายรับ-รายจ่าย รักษาสุขภาพ งานประเพณี การพักผ่อน วงจรชีวิตมนุษย์ เกิด เติบโต ศึกษา บวช แต่งงาน ครอบครัว เจ็บป่วย สูงอายุ ตาย

ระดมสมอง (Brainstorming) เน้นปริมาณ งดวิจารณ์ รับความแปลก รวมความคิด

สิ่งดี – สิ่งไม่ดี ในหมู่บ้าน ลุงผึ้ง ทำเกษตรอินทรีย์มา ๑๕ ปี ใช้ควายไถนา มีข้าวกินครบปี มีผัก-ปลาขายตลอดปี มีเงินเก็บ สร้างบ้าน ซื้อที่ดินให้ลูกๆ หมู่บ้านจัดตลาดชุมชน ทุกวันเสาร์ เน้นอาหารปลอดภัย ค่าเช่าถูก มีป่าชุมชนที่สมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารกว่า ๕ แสนบาท/ปี สิ่งไม่ดี ขาดทุนจากทำนา 3,000 บาท/ไร่ ไม่มีระบบชลประทานเพื่อการเกษตร พึ่งน้ำฝน คนติดสุราเรื้อรัง ๑๐ คน ก่อความวุ่นวาย ว่างงาน ภาระของหมู่บ้าน คนสูบบุหรี่ ๔๐ คน เด็กเลียนแบบ คนในครอบครัวเป็นหอบหืด

สถานการณ์ดี – ไม่ดี นอกหมู่บ้าน จังหวัด เพิ่มศักยภาพภาคเกษตร ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ จังหวัด ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน คนสนใจดูแลสุขภาพ เน้นอาหารปลอดภัย กระแสนิยมท่องเที่ยววิถีชีวิต พักโฮมสเตย์ รัฐมีงบประมาณมาให้ชุมชนคิดเองทำเอง สถานการณ์ไม่ดี ราคาผลผลิตทางการเกษตรต่ำ ไม่สามารถควบคุมได้ ราคาปัจจัยการผลิตราคาสูง ไม่แน่นอน ภาวะโลกร้อน น้ำซับหาย แล้งหนัก ท่วมหนัก การค้าเสรี นายทุนใหญ่ลงทุนแข่ง SME ร้านค้าเล็กๆ

การจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ปัญหา ๒ การจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้ แนวทางแก้ไขปัญหา

จัดหมวดหมู่ปัญหา สิ่งไม่ดี สังเคราะห์ เรียงลำดับ มาก > น้อย ในหมู่บ้าน สังเคราะห์ (จัดกลุ่ม) เรียงลำดับ มาก > น้อย

จัดหมวดหมู่ปัญหา สิ่งไม่ดี ขาดน้ำเพื่อการเกษตร ขาดทุนจากการทำนา ติดสุราเรื้อรัง ติดบุหรี่ ขาดทุนจากทำนา 3,000 บาท/ไร่ ไม่มีระบบชลประทานเพื่อการเกษตร พึ่งน้ำฝน คนติดสุราเรื้อรัง ๑๐ คน ก่อความวุ่นวาย ว่างงาน ภาระของหมู่บ้าน คนสูบบุหรี่ ๔๐ คน เด็กเลียนแบบ คนในครอบครัวเป็นหอบหืด

วิเคราะห์ปัญหา ปัญหา สาเหตุ ๑ สาเหตุ ๒ สาเหตุ ๓ แนวทางแก้ไข ๑.๑ แนวทางแก้ไข ๑.๒ สาเหตุ ๒ แนวทางแก้ไข ๒.๑ แนวทางแก้ไข ๒.๒ แนวทางแก้ไข ๒.๓ สาเหตุ ๓ แนวทางแก้ไข ๓.๑ ปัญหา

วิเคราะห์ปัญหา ขายทุนจากการทำนา 3,000 บาท/ไร่ ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ แนวทางแก้ไข ขายทุนจากการทำนา 3,000 บาท/ไร่ -ฝนแล้ง, น้ำท่วม -ผลผลิตเสียหาย -ปริมาณต่อไร่ลดลง -ความเครียด -ทำเกษตรทฤษฎีใหม่ -ทำแก้มลิงเก็บน้ำ, ขุดบ่อในนา -เจาะน้ำบาดาล -เปลี่ยนชนิดพืชหรือเลี้ยงสัตว์ -ต้นทุนสูง (ปุ๋ย, ไถ, เก็บเกี่ยว) -เงินลงทุนสูง -กู้ยืมเงินใน-นอกระบบ -ทำปุ๋ยชีวภาพใช้เอง -รวมกลุ่มบริการรถไถ -รวมกลุ่มลงแขก -ขายได้ราคาต่ำ -รายได้น้อย -ความเครียด -แปรรูปก่อนขาย -ขายตรงให้ผู้บริโภค -รวมกลุ่มรับซื้อรอขาย

การกำหนดอนาคตของหมู่บ้าน ๓ การกำหนดอนาคตของหมู่บ้าน เพื่อให้ได้ ความฝันในอีก ๔ ปี พร้อม เส้นทางไป

การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน ความฝัน ๒๕๖๔ วิสัยทัศน์

การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน เมืองเกษตรอินทรีย์ ท่องเที่ยววิถีชุมชน ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี จังหวัด อำเภอ ... ตำบล/ท้องถิ่น ความฝัน หมู่บ้าน

การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน ความฝัน เส้นทางสู่ฝัน ๑ เส้นทาง สู่ฝัน ๒ สู่ฝัน ๓ สู่ฝัน ๔ สู่ฝัน ๕

การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน ความฝัน ๒๕๕๗ ศูนย์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สังคมพึ่งพาตนเองได้ในทุกด้าน มีสวัสดิการของคนทุกวัย ภายใต้การจัดการชุมชนอย่างเป็นระบบ ความฝัน ๒๕๖๔ สังคมอุดมปัญญา พัฒนาคุณภาพชีวิต จิตใจดีงามและเข้มแข็ง ต้นแบบแห่งหมู่บ้านจัดการตนเอง

การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน ศูนย์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สังคมพึ่งพาตนเองได้ในทุกด้าน มีสวัสดิการของคนทุกวัย ภายใต้การจัดการชุมชนอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมอาชีพตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาการบริหารจัดการชุมชน

การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน สังคมอุดมปัญญา พัฒนาคุณภาพชีวิต จิตใจดีงามและเข้มแข็ง ต้นแบบแห่งหมู่บ้านจัดการตนเอง พัฒนาคนและภูมิปัญญา พัฒนาเศรษฐกิจตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการ พัฒนาการบริหารจัดการชุมชน

จัดกลุ่มแนวทางแก้ไขปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ แนวทางแก้ไข ขายทุนจากการทำนา 3,000 บาท/ไร่ -ฝนแล้ง, น้ำท่วม -ต้นทุนสูง (ปุ๋ย, ไถ, เก็บเกี่ยว) -ขายได้ราคาต่ำ -ผลผลิตเสียหาย -ปริมาณต่อไร่ลดลง -ความเครียด -เงินลงทุนสูง -กู้ยืมเงินใน-นอกระบบ -รายได้น้อย -ทำเกษตรทฤษฎีใหม่ -ทำแก้มลิงเก็บน้ำ, ขุดบ่อในนา -เจาะน้ำบาดาล -เปลี่ยนชนิดพืชหรือเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชทนแล้ง เลี้ยงโค-กระบือ -ทำปุ๋ยชีวภาพใช้เอง -รวมกลุ่มบริการรถไถ -รวมกลุ่มลงแขก จัดตั้งกลุ่มเกษตรอินทรีย์ -แปรรูปก่อนขาย -ขายตรงให้ผู้บริโภค -รวมกลุ่มรับซื้อรอขาย

จัดกลุ่มแนวทางแก้ไขปัญหา เส้นทางสู่ฝัน ๑ เส้นทางสู่ฝัน ๒ เส้นทางสู่ฝัน ? เส้นทางสู่ฝัน ๓

การกำหนดแผนงาน/โครงการ ๔ การกำหนดแผนงาน/โครงการ เพื่อให้ได้ แผนงาน/โครงการในระยะ ๔ ปี

การกำหนดแผนงานโครงการ  แนวทาง แก้ไข สิ่งดีในหมู่บ้าน สถานการณ์ไม่ดีนอกหมู่บ้าน สถานการณ์ดีนอกหมู่บ้าน แผนงาน โครงการ  

การกำหนดแผนงานโครงการ  ปลูกพืชทนแล้ง มีปราชญ์ต้นแบบ ตลาด ราคา นโยบายรัฐ ตลาด ราคา ส่งเสริมการปลูกอินทผาลัม  

การกำหนดแผนงานโครงการ ที่ ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตโครงการ) งบประมาณและที่มา ผู้รับผิดชอบ ประเภท ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔  ๑    ๒  ๓  ๔  ๕ สงกรานต์สืบสานประเพณีไทย -ขอขมากรรมผู้ใหญ่-ขอพร -เล่นน้ำสงกรานต์ในชุมชน -สรงน้ำพระประธานฯ -กิจกรรม ๑ วัน -คนเข้าร่วม ๑๐๐ คน ๑๐,๐๐๐ (หมู่บ้าน) ๑๐,๐๐๐ (หมู่บ้าน) ๑๐,๐๐๐ (หมู่บ้าน) ๑๐,๐๐๐ (หมู่บ้าน) กลุ่มเยาวชน ทำเอง ส่งเสริมการปลูก อินทผาลัม -อบรมให้ความรู้ -จัดตั้งกลุ่ม -อบรม ๑ วัน 50 คน -เกษตรกรเข้าร่วม 5 คร. ๑๐,๐๐๐ (อบต.) กม. ทำร่วม ผู้เสนอโครงการ, รับผิดชอบดำเนินงาน = คณะทำงานของ กม. ทำเอง, ทำร่วม, ทำให้

การกำหนดแผนงานโครงการ ตารางสรุปแผนงานโครงการ ปี พ.ศ. ทำเอง ทำร่วม ทำให้ รวม จำนวน งบประมาณ ๒๕๖๑   ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔

การขับเคลื่อนแผนพัฒนาหมู่บ้าน สู่การนำไปใช้จริง ๕ แผนฯ มีชีวิต ผลักดันสู่แผนระดับต่างๆ และการ ปฏิบัติจริง

แผนฯ มีชีวิต สร้างการยอมรับทั้งหมู่บ้าน (ทำร่าง-แจก-รับรอง-ประกาศใช้) กำหนด กติกา ร่วมกัน ทำโครงการในแผนฯ เท่านั้น เมื่อมีงบประมาณ ทำโครงการในแผนฯ เท่านั้น จัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปี และติดประกาศ เข้าร่วมเวทีบูรณาการแผนฯ ทุกระดับ เสนอแผนฯ ต่อหน่วยงาน จัดทำแบบติดตามประเมินผลแผนพัฒนาหมู่บ้าน สรุปรายงานประจำปี เพิ่มเติม ปรับปรุงได้ตลอด โดยประชาคมรับรอง จัดเวทีทบทวนแผนปีละครั้ง เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์

การเลือกโครงการสู่บูรณาการ เฉพาะโครงการที่ทำไม่ได้ เกินกำลัง โครงการที่เชื่อมโยงกับพื้นที่อื่น ต้องใช้ความร่วมมือ โครงการที่สอดคล้องยุทธศาสตร์แต่ละระดับ/ภารกิจเฉพาะหน่วยงาน สอดคล้องห้วงเวลากระบวนการแผนแต่ละระดับ

แหล่งข้อมูล www.missurin.com