หลักเทคนิคการเขียน SAR ผศ.ปรานี พรรณวิเชียร
เค้าโครงการเขียน SAR คำนำ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 1 ส่วนนำ ส่วนที่ 1 ส่วนนำ ข้อมูลทั่วไป (ชื่อ ที่ตั้ง ความเป็นมาโดยย่อ) ปณิธาน วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ภารกิจ แผนพัฒนามหาวิทยาลัย โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการบริหาร รายชื่อผู้บริหาร กระบวนการบริหาร กรรมการยุคปัจจุบัน หลักสูตรที่เปิดสอน
ส่วนที่ 1 (ต่อ) ส่วนที่ 1 (ต่อ) จำนวนนักศึกษา จำนวนอาจารย์ บุคลากร ข้อมูลพื้นฐาน (งบประมาณ อาคารสถานที่) เอกลักษณ์และวัฒนธรรมของสถาบัน การประกันคุณภาพของสถานศึกษา แผนการพัฒนาคุณภาพ (รวมผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ของผลการประเมินในปีที่ผ่านมา)
ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 2 การดำเนินการตามองค์ประกอบคุณภาพ ส่วนที่ 2 การดำเนินการตามองค์ประกอบคุณภาพ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิต นักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม
ส่วนที่ 2 (ต่อ) ส่วนที่ 2 การดำเนินการตามองค์ประกอบคุณภาพ ส่วนที่ 2 การดำเนินการตามองค์ประกอบคุณภาพ องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศาสนาและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ระบุจุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ของแต่ละองค์ประกอบ (เขียนสรุปในภาพรวมใหญ่ๆ ในทุกองค์ประกอบ)
ส่วนที่ 3 ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 1 ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 1 ตาราง ส 1 การวิเคราะห์จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ของแต่ละองค์ประกอบ
ส่วนที่ 3 (ต่อ) ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 2 ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 2 ตาราง ส 2 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาของภาพรวมของ ส 2
ส่วนที่ 3 (ต่อ) ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 3 ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 3 ตาราง ส 3 การวิเคราะห์จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ของภาพรวมของ ส 3
ส่วนที่ 3 (ต่อ) ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 4 ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 4 ตาราง ส 4 การวิเคราะห์จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ของภาพรวมของ ส 4
ส่วนที่ 3 (ต่อ) ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 5 ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ แบบฟอร์ม ส 5 ตาราง ส 5 การวิเคราะห์จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ของภาพรวมของ ส 5
ส่วนที่ 3 (ต่อ) ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ จุดแข็ง ข้อเสนอแนะในภาพรวมของสถาบัน Common Data Set
วิธีเขียน SAR 1. ใช้รูปแบบเดียวกับที่ สกอ.ระบุไว้ 2. ทำความเข้าใจกับเกณฑ์การประเมินและกระบวนการจัดทำระบบ กลไกการประกันคุณภาพให้ชัดเจน 3. การเขียนผลการดำเนินการ ห้ามลอกเกณฑ์ ให้ระบุว่า ทำอย่างไร 4. เอกสารหลักฐาน เช่น รายงานการประชุม แผนการสอน เอกสาร หลักฐานต้องชัดเจนระบุเลขที่เอกสารให้ชัด
วิธีการเขียนจุดแข็ง แนวทางการเขียนจุดแข็ง จุดแข็ง หมายถึง สิ่งที่สถาบันดำเนินการที่แตกต่างจากหน่วยงานอื่น โดยดำเนินการเป็นแบบต่อเนื่อง ชัดเจน มีผลลัพธ์ชัดเจนเป็นเยี่ยงอย่าง ที่ดีได้ แนวทางเสริมจุดแข็ง สรุปเทคนิคของการดำเนินการให้ดีกว่าเดิมอีก เป็นข้อเสนอแนะที่สถาบันดำเนินการแล้วจะมีผลลัพธ์ที่พัฒนาสถาบันใน อนาคต
วิธีการเขียนจุดอ่อน จุดอ่อน เขียนสิ่งที่ไม่ได้ดำเนินการและเป็นปัญหากระทบต่อคุณภาพ การจัดการศึกษา ถ้ามีการแก้ไขจะทำให้พัฒนาได้ยิ่งขึ้น จุดที่ควรพัฒนา ทำอย่างไรให้ดีกว่าเดิม ให้เกิดแนวทางดำเนินการที่ เป็นการพัฒนาที่ดีทำให้องค์กร ดียิ่งขึ้น