การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประจำจังหวัดชลบุรี การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ

ป้องกัน ป.ป.ช. ทำอะไร ปราบปราม ตรวจสอบทรัพย์สิน

ภารกิจและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. 3 ด้านหลัก 1. ด้านป้องกันการทุจริต 1.1 เสนอมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะต่อ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาลหรือคณะกรรมการตรวจเงิน แผ่นดินเพื่อให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติราชการ 1.2 เสริมสร้างทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ สุจริต 1.3 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต มาตรา 19

ภารกิจและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. 3 ด้านหลัก (ต่อ) 2. ด้านปราบปรามการทุจริต 2.1 ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนเสนอต่อวุฒิสภา เกี่ยวกับการถอดถอน ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐตามที่กฎหมาย กำหนดออกจากตำแหน่ง 2.2 ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนเพื่อดำเนินคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง ซึ่งกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือกระทำ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 2.3 ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่รัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิด ฐานทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ มาตรา 19

ภารกิจและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. 3 ด้านหลัก (ต่อ) 3. ด้านตรวจสอบทรัพย์สิน 3.1 กำหนดตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่จะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3.2 ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความ เปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สิน (กรณีเข้ารับตำแหน่ง กรณีพ้น จากตำแหน่ง กรณีพ้นจากตำแหน่งครบ 1 ปี) 3.3 ไต่สวนและวินิจฉัยว่ากรณีผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ร่ำรวยผิดปกติ มาตรา 19 ผู้ดำรงตำแหน่ง เจ้าหน้าที่รัฐ

คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑/๒๕๕๗ เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว ข้อ ๒ และข้อ ๕ กรณีสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่จะพ้นจากตำแหน่ง ให้สมาชิกสภาท้องถิ่น ท้องถิ่นและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ต้องพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากครบวาระตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไปยังคงอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ต่อไป มาตรา 19

คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ผลของ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑/๒๕๕๗ กรณีผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากครบวาระ ตั้งแต่วันที่ ๑ ม.ค. ๕๘ แต่ยังคงอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ตามคำสั่ง คสช.ที่ ๑/๒๕๕๗ ให้ถือว่ายังไม่พ้นจากตำแหน่ง จึงไม่มีหน้าที่ยื่น กรณีพ้น เมื่อ กกต. ประกาศให้มีการเลือกตั้ง ถือว่าผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาพท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง จึงมีหน้าที่ยื่นบัญชีกรณีพ้นจากตำแหน่ง โดยถือวันที่ประกาศ กกต. ให้มีการเลือกตั้งมีผลใช้บังคับเป็นวันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี มาตรา 19

สรุปอำนาจหน้าที่หลักของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ด้านปราบปรามการทุจริต ไต่สวนข้อเท็จจริง ชี้มูล อาญา จำคุก/ปรับ วินัย ร้ายแรง ไม่ร้ายแรง ด้านตรวจสอบทรัพย์สิน ตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ จงใจไม่ยื่นบัญชีฯ ภายในกำหนด จงใจยื่นบัญชีฯ ด้วยข้อความอันเป็นเท็จ จงใจปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ โทษ ห้ามดำรงตำแหน่ง 5 ปี จำคุก ไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ ด้านป้องกันการทุจริต รณรงค์เผยแพร่ให้ความรู่การป้องกันการทุจริต

“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายถึง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตำแหน่ง หรือเงินเดือนประจำ พนักงานหรือบุคคลผู้ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิกสภาท้องถิ่น ซึ่งมิใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่ หรือพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะการปกครองท้องที่ และให้หมายความรวมถึงกรรมการ อนุกรรมการ ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ และบุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งใช้อำนาจ หรือได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางการปกครองของรัฐในการดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการรัฐวิสาหกิจ และกิจการอื่นของรัฐ (พ.ร.บ.ปปช.ม.4)

สถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาทุจริต ในปัจจุบัน

แนวโน้มของการคอร์รัปชั่นในประเทศไทย (The Trend of Corruption in Thailand) ปัญหาคอร์รัปชั่น ถือได้ว่า เป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศที่ด้อยพัฒนา เป็นปัญหาที่มีความสําคัญที่สุดปัญหาหนึ่งของหลายประเทศ ยังไม่มีทีท่าว่าจะหมดไป ทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ

แนวโน้มของการคอร์รัปชั่นในประเทศไทย (The Trend of Corruption in Thailand) ไทย ปัญหาคอร์รัปชั่นเกิดขึ้นในสังคมไทยมาช้านาน มีแนวโน้มที่จะมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ และพบปัญหาดังกล่าวเกือบทุกภาคส่วน แม้รัฐบาลมีความพยายามป้องกันและแก้ไขมาโดยตลอด แต่ดูเหมือนว่าปัญหาการคอร์รัปชั่นก็ไม่ได้ถูกแก้ไขได้เท่าใดนัก รายงานผลการจัดอันดับค่าดรรชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของประเทศไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2541จนถึง ปี พ.ศ.2558 พบว่า ค่าดรรชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น ยังอยู่ในระดับต่ำกว่า 50 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน มาโดยตลอด

การทุจริตเป็นปัญหาในระดับสังคมโลก - อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้าน การทุจริต (UNITED NATION CONVENTION AGAINST CORRUPTION) ประเทศสมาชิก 128 ประเทศ ร่วมลงนามเมื่อวันที่ 9 – 10 ธันวาคม 2546 ณ เมืองเมอร์ริดา ประเทศเม็กซิโก - คำขวัญ “ WITH CORRUPTION EVERYONE PAYS” ความหมาย “ ที่ใดมีคอร์รัปชัน ทุกคนที่นั่นต้องร่วมชดใช้ ” สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

รูปแบบหรือวิธีการทุจริตคอร์รัปชันของเจ้าหน้าที่รัฐ 1. ระดับผู้ปฏิบัติ - เจ้าหน้าที่ของรัฐระดับผู้ปฏิบัติจะยักยอกเงินหรือทรัพย์สินของรัฐมาใช้ส่วนตัว - เจ้าหน้าที่ระดับผู้ปฏิบัติเรียกเก็บเงินจากประชาชนทั้งที่ ทำผิดกฎหมายและไม่ผิดกฎหมาย จากนั้นนำผลประโยชน์ที่ได้มาแบ่งปันกัน 2. ระดับผู้บริหาร - ระดับผู้บริหารใช้อำนาจหน้าที่ควบคุมการจัดซื้อ จัดจ้าง ช่วยเหลือพรรคพวกในการจัดซื้อ จัดจ้าง - ระดับผู้บริหารมีนโยบายหรือกำหนดแนวทางที่เอื้อต่อ การทุจริตคอร์รัปชันของเจ้าหน้าที่รัฐ

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 - 2564)

ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 วิสัยทัศน์ ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero tolerance & Clean Thailand) ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1 วิสัยทัศน์ สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นที่ยอมรับในระดับสากล วิสัยทัศน์ สังคมไทยมีวินัย และยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม ทุกภาคส่วนร่วมป้องกัน และปราบปรามการทุจริต

วิสัยทัศน์   ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand) พันธกิจ : สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานสากล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) สูงกว่าร้อยละ 50 วัตถุประสงค์ที่ 1 สังคมมีพฤติกรรม ร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง วัตถุประสงค์ที่ 2 เกิดวัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) มุ่งต้านการทุจริตในทุกภาคส่วน วัตถุประสงค์ที่ 3 การทุจริตถูกยับยั้งอย่างเท่าทันด้วยนวัตกรรม กลไกป้องกันการทุจริตและระบบบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ที่ 4 การปราบปรามการทุจริตและการบังคับใช้กฎหมาย มีความรวดเร็ว เป็นธรรมและได้รับความร่วมมือจากประชาชน วัตถุประสงค์ที่ 5 ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยมีค่าคะแนนในระดับที่สูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจำนง ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยกระดับคะแนนดัชนี การรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย

ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 1 มุ่งเน้นปลูกฝังจิตสำนึก ปรับฐานคิด พัฒนาหลักสูตร/บทเรียน/การเรียนการสอน/การถ่ายทอด ในทุกระดับ พัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และประกาศใช้อย่างจริงจัง 4. เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วน เพื่อต่อต้านการทุจริต 1. ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต สร้างชุมชนเฝ้าระวัง ต่อต้านการทุจริต Social Sanction 2. ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการ กล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต 3. ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต กล่อมเกลาทางสังคมทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัย พัฒนานววัตกรรมสื่อการเรียนรู้ พัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ สื่อสารทางสังคมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสริมบทบาทสื่อมวลชนและองค์กรวิชาชีพ พัฒนามาตรวัดทางสังคม ปรับใช้ในการกล่อมเกลา พัฒนาหลักสูตร/ปรับรูปแบบและวิธีการนำเสนอ พัฒนาระบบและองค์ความรู้

ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต กำหนดให้นักการเมืองต้องแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต จัดทำเอกสารแสดงเจตจำนงทางการเมืองของพรรคการเมืองและเผยแพร่ให้แก่ประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 2 1.พัฒนากลไกการกำหนดให้นักการเมืองแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตต่อสาธารณชน 6. ประยุกต์นวัตกรรมในการกำกับดูแลและควบคุมการดำเนินงานตามเจตจำนงทางการเมืองของพรรคการเมืองที่ได้แสดงไว้ต่อสาธารณะ 2. เร่งรัดการกำกับติดตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐในทุกระดับ กำหนดพรรคการเมืองแสดงแนวทางนโยบาย/งบระมาณ ก่อนการเลือกตั้ง จัดทำระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามโครงการ ที่ดำเนินการตามนโยบายของพรรคการเมือง ศึกษาและกำหนดแนวทาง/ขั้นตอนการกำกับติดตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ ยกระดับเจตจำนง ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต 3. สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนกำหนดกลยุทธ์ และมาตรการสำหรับเจตจำนงในการต่อต้านการทุจริต 5. ส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนต่อต้าน การทุจริตสำหรับภาคเอกชนและภาคประชาชน โดยรัฐให้การสนับสนุนทุนตั้งต้น ศึกษา/วิเคราะห์แนวทางปฏิบัติทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น ประสานความร่วมมือระหว่างภาคส่วน เสริมเจตจำนงทางการเมืองในระดับประชาชน 4.พัฒนาระบบการบริหารงบประมาณด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตเพื่อให้ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจำปีที่มีสัดส่วนเหมาะสมกับการแก้ปัญหา ศึกษาแนวทาง พัฒนาตัวแบบกองทุน ศึกษาวิเคราะห์แนวทาง/จัดทำแผนการปฏิรูประบบการจัดสรรงบประมาณ

1. วางมาตรการเสริมในการสกัดกั้น การทุจริตเชิงนโยบายบนฐานธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขั้นการก่อตัวนโยบาย (Policy formation) ขั้นการกำหนดนโยบาย (Policy Formulation) ขั้นตัดสินใจนโยบาย (Policy Decision) ขั้นการนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) ขั้นการประเมินนโยบาย (Policy Evaluation) 4. ส่งเสริมให้มีการศึกษา วิเคราะห์ ติดตาม และตรวจสอบ การทุจริตเชิงนโยบาย ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาวิเคราะห์/เผยแพร่องค์ความรู้ตรวจสอบ นโยบายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย การตรวจสอบแนวนโยบายหาเสียงของพรรคการเมือง เกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงของนโยบาย Policy Risk Indicator (PRI) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารนโยบาย พัฒนากรอบกำหนดนโยบาย พัฒนาแนวปฏิบัติการยอมรับนโยบายและรับผิดชอบสังคม วิเคราะห์ความเสี่ยงและการใช้จ่ายงบประมาณ เสริมสร้างความโปร่งใสกระบวนการพิจารณากฎหมาย กำหนดบทลงโทษฝ่าฝืนจริยธรรม สร้างกลไกตตรวจสอบฝ่ายบริหาร พัฒนานวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างความโปร่งสา บูรณาการรติดตามนโยบาย 3. การพัฒนานวัตกรรมสำหรับการรายงานและตรวจสอบธรรมาภิบาลในการนำนโยบายไปปฏิบัติ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีใช้ติดตาม และตรวจสสอบนโยบายรัฐ 2. การรายงานผลสะท้อนการสกัดกั้นการทุจริตในวงจรนโยบาย (Policy cycle feedback) จัดตั้งหน่วยงานกลางการบูรณาการและประมวลผลข้อมูล

1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 4 1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต 2. สร้างกลไกการป้องกันเพื่อยับยั้งการทุจริต ระบบงาน แนวคิด มาตรการ 8. การพัฒนาระบบและส่งเสริมการดำเนินการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 เครื่องมือ/กลไกในการตรวจสอบ/ยับยั้ง 3. พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดปัญหาการทุจริต พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก นโยบายแนวปฏิบัติ ปรับปรุงประมวลจริยธรรม แนวทางจัดซื้อจัดจ้าง แลกเปลี่ยนข่าวสาร Online Public Sector Trends 4. พัฒนารูปแบบการสื่อสารสาธารณะ เชิงสร้างสรรค์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้ เชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรด้านการป้องกันการทุจริต 5. การพัฒนา วิเคราะห์และบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงกับแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย Marketing in Public Sector Content Theme Creative Thinking Competency Trends 6. สนับสนุนให้ภาคเอกชนดำเนินการตามหลักบรรษัทภิบาล Cooperate Governance พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน/บูรณาการระบบประเมิน

ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต 2. ปรับปรุงการตรวจสอบความเคลื่อนไหวและความถูกต้องของทรัพย์สินและหนี้สิน ยุทธศาสตร์ที่ 5 1. ปรับปรุงระบบรับเรื่องร้องเรียนการทุจริต ให้มีประสิทธิภาพ การปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบให้กระบวนการมีประสิทธิภาพ สร้างความเชื่อมั่น เชื่อมโยงการข่าวและฐานข้อมูล เพื่อลดความล่าช้า ซ้ำซ้อน พัฒนาระบบการตรวจสอบความเคลื่อนไหวและความถูกต้อง (smart audit system) กำหนดกลุ่มเป้าหมาย 9. เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินคดีทุจริตระหว่างประเทศ 3. ปรับปรุงกระบวนการและพัฒนากลไกพิเศษในการปราบปรามการทุจริตที่มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 8. การเปิดโปงผู้กระทำความผิดให้สาธารณชนรับทราบและตระหนักถึงโทษของการกระทำการทุจริตเมื่อคดีถึงที่สุด Fast track ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต 4. ตรากฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายในการปราบปรามการทุจริตให้เท่าทันต่อพลวัตรของการทุจริตและสอดคล้องกับสนธิสัญญาและมาตรฐานสากล 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้เชิงสหวิทยาการของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต ศึกษาและวิเคราะห์ปรับปรุงกฎหมาย จัดลำดับความเสียหาย/เร่งด่วน/ความถี่ บูรณาการหน่วยงานตรวจสอบถ่วงดุล พัฒนาองค์ความรู้/ทักษะ/ขีดความสามารถ แลกเปลี่ยน/การเสริมความรู้ในรูปแบบสหวิชาการ สร้างระบบการแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) 5. บูรณาการข้อมูลและข่าวกรองในการปราบปรามการทุจริต 6.การเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองพยานและผู้แจ้งเบาะแส และเจ้าหน้าที่ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต พัฒนาระบบฐานข้อมูล จัดตั้งศูนย์กลางข่าวกรอง (Intelligence agency) ร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองร่วมกับสื่อ/ภาคประชาสังคม Whistleblower , คุ้มครองเจ้าหน้าที่ , กำหนดรางวัลแจ้งเบาะแส

1. ศึกษา และกำกับติดตามการยกระดับดัชนี ยุทธศาสตร์ที่ 6 2. บูรณาการเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพื่อยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย 1. ศึกษา และกำกับติดตามการยกระดับดัชนี การรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย วิเคราะห์และเชื่อมโยงเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติฯ จัดทำ Strategy Map กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการ ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย ศึกษาระเบียบวิธีวิจัย (Methodology) ของแหล่งข้อมูล ที่ใช้สำหรับการจัดอันดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เร่งรัด และกำกับ ติดตามการดำเนินการ การจัดการการรับรู้ (Perceptions)