ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
Advertisements

1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
แผนงานโครงการ หน่วยศึกษานิเทศก์ ผล ปีงบประมาณ 2558 แผน ปีงบประมาณ 2559.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
Health Promotion & Environmental Health
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
(ร่าง) แผนที่ยุทธศาสตร์กรมกิจการเด็กและเยาวชน
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
การบริหารและขับเคลื่อน
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
การรายงานผลการดำเนินงาน
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี การขับเคลื่อน Cluster วัยทำงาน ปี 2562 ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี

สถานการณ์วัยทำงาน

ภาพรวมประชากรวัยทำงาน 3 2 วัยทำงานตอนปลาย อายุ 45-59 ปี วัยทำงานตอนต้น อายุ 15-29 ปี ชาย: 7,565,609 หญิง: 7,281,029 รวม: 14,846,638 ชาย: 6,936,028 หญิง: 7,597,325 รวม: 14,533,353 1 วัยทำงานตอนกลาง อายุ 30-44 ปี ชาย: 8,217,300 หญิง: 8,328,143 รวม: 16,545,443 ที่มา: ข้อมูลประชากรไทย ปี 2560 สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ดาวน์โหลดไฟล์ excel ข้อมูลประชากรจากเว็บไซต์ คลัสเตอร์วัยทำงานhttp://workingage.anamai.moph.go.th/web/downloads/TargetGroupProvince2561.xlsx

Assessment สถานการณ์แรงงานในสถานประกอบการที่ขึ้นทะเบียนในระบบ ผู้ประกันตน ม. 30 10,858,657 คน ผู้ประกันตน ม. 33 1,381,055 คน ผู้ประกันตน ม. 40 2,481,694 คน

(เบาหวาน หลอดเลือดสมอง) อุบัติเหตุ NCD (เบาหวาน หลอดเลือดสมอง)

ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ Level แสดงผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ เป้าหมายร้อยละ 55 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ข้อมูลของปี 61 เป็นข้อมูล ณ วันที 19 สิงหาคม 2561

สรุปผลวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์วัยทำงาน พฤติกรรมการกินผัก พฤติกรรมการปรุงรสเค็ม พฤติกรรมการดื่มรสหวาน

สรุปผลวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์วัยทำงาน พฤติกรรม PA เพียงพอ พฤติกรรมการนอนเพียงพอ แปรงฟันก่อนนอน นาน 2 นาที

สรุปผลวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์วัยทำงาน พฤติกรรมการเนือยนิ่ง พฤติกรรมการสูบบุหรี่

Concept Smart citizen วัยทำงาน Goal : วัยทำงาน หุ่นดี สุขภาพดี 2. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและช่องทางการสื่อสาร กลยุทธ์ 1. พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ อาหาร ออกกำลังกาย นอน ฟัน BMI 3.เสริมสร้างศักยภาพภาคีเครือข่ายทุกกระดับ = Assessment สถานการณ์ BMI ระดับเขตจากฐานข้อมูล HDC โครงการ/กิจกรรม Start พัฒนาศักยภาพบุคลากร สนับสนุนชุดความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานในสถานประกอบการ พัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานตอนปลายเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ ผลักดันนโยบายและขับเคลื่อนภาคสังคม ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานระดับจังหวัด สถานประกอบการ/องค์กร/สถานบริการ/ชุมชน Smart Teenage วัยทำงานตอนต้น (15 - 29 ปี) วัยทำงานตอนกลาง (30 - 44 ปี) วัยทำงานตอนปลาย (45 - 59 ปี) Smart Elderly ที่มา : Cluster วัยทำงาน กรมอนามัย

ตัวชี้วัดเดิม ตัวชี้วัดติดตาม ผลการดำเนินงานปี 2560 ผลการดำเนินงานปี 2561 ค่าเป้าหมาย ปี 2562 ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มี BMI ปกติ ระดับประเทศ ระดับเขต (เขต 5) 51.8 51.94 52.82 53.76 53 ตัวชี้วัดติดตาม ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30- 44 ปี กลุ่มอ้วน (BMI ≥ 25) 23.16 22.07 22 45- 59 ปี มี BMI ปกติ 49.01 46.15 46 45- 59 ปีกลุ่มอ้วน (BMI ≥ 25) 27.17 26.29 26 ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม (กินผัก) 26.5 29.58 30 ร้อยละของวัยทำงานมีกิจกรรทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ(PA) 19.4 26.11 27 ร้อยละวัยทำงานดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม (แปรงฟันก่อนนอน) 66.8 48.1 50

ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัดยุทธศาตร์: ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปีมีดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ภายใต้กิจกรรมสำคัญ: * ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานระดับเขต (เน้นกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง) บริบท: สถานบริการสาธารณสุข สถานประกอบการ และชุมชน * พัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ พัฒนาศักยภาพบุคลากร

วัยทำงานศตวรรษที่ 21 หุ่นดี สุขภาพดี โครงการสำคัญ วัยทำงานศตวรรษที่ 21 หุ่นดี สุขภาพดี กิจกรรมสำคัญ ระดับกรม ผลักดันนโยบายและขับเคลื่อนภาคสังคม ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน ระดับเขต พัฒนาชุดความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานตอนปลาย (Pre Aging) เป้าหมาย -กระทรวง สธ./มท./รง./พม. -ปชช.วัยทำงานอายุ 15-59 ปี ปชช.วัยทำงานอายุ 15-59 ปี ใน 3 setting ปชช.วัยทำงานอายุ 15-59 ปี บุคลากรระดับเขต ปชช.วัยทำงานอายุ 45-59 ปี ผลที่คาดว่าจะได้รับ -ผลักดันขับเคลื่อนนโยบาย -เกิดกระแส ปชช.ใส่ใจ สุขภาพ -การประเมินสถานการณ์ -รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพ ได้องค์ความรู้ที่เหมาะสม ทันสมัยและประชาชนวัยทำงานเข้าถึงได้ง่าย บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพ และเกิดความรอบรู้ -ได้ระบบเฝ้าระวังครบทั้ง 77 จังหวัด -ได้ Application ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน วัยทำงานตอนปลายมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

ตัวอย่างมาตรการที่ผ่านมา

ตัวอย่างมาตรการที่ผ่านมา ตัวอย่างต่างประเทศ สิงคโปร์: Healthy living Master plan ญี่ปุ่น: National Health Promotion plan เยอรมันนี : Preventive Healthcare Act 2015 ฯลฯ

โครงการสำคัญวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 ปี 62 ขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มวัยทำงานอายุ 15-59 ปี ใน 3 บริบท ดังนี้ 1)ในสถานบริการสาธารณสุข 2)ในสถานประกอบการ 3)ในชุมชน เพื่อให้วัยทำงานมีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ ภาวะอ้วนไม่เพิ่มขึ้น มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ประกอบด้วย โครงการวัยทำงานศตวรรษที่ 21 หุ่นดีสุขภาพดี เขตสุขภาพที่ 5 โครงการ :สร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี (โครงการพระราชดำริ)

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best practice 1. โครงการวัยทำงานศตวรรษที่ 21 หุ่นดีสุขภาพดี เขตสุขภาพที่ 5 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังร่วมกับกรมอนามัยผ่าน google form การพัฒนาบุคลากรเพื่อสร้างความรู้ด้านสุขภาพ สู่ 3 SETTING Setting สถานบริการ *การพัฒนาแนวทางการยกระดับการขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Rebrand DPAC ) ในสถานบริการสาธารณสุข สู่ศตวรรษที่ 21 ประชาชนหุ่นดี สุขภาพดี 8 จังหวัด Setting สถานประกอบการ *การพัฒนาศักยภาพแกนนำภาคีเครือข่ายสถานประกอบการเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพสู่พนักงานหุ่นดี สุขภาพ ศตวรรษที่ 21 (สมุทรสาคร,ราชบุรี) Setting ชุมชน *การพัฒนาศักยภาพและสร้างความรอบรู้ผู้นำชุมชน (Health leader) สู่การเป็น Health coach ระดับตำบล เพื่อชุมชนหุ่นดี สุขภาพดีในศตวรรษที่ 21 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best practice การพัฒนารูปแบบความรอบรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานและเตรียมความพร้อมสู่สูงวัย ในสถานบริการสาธารณสุข สถานประกอบการและชุมชน ในศตวรรษที่ 21

2. โครงการสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี (โครงการพระราชดำริ) 1.1 โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม * สำรวจสถานการณ์พฤติกรรม BSC 1.2 โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุ * จัดงานรณรงค์สาวไทยแก้มแดง 14 กุมภาพันธ์ 2562 1.3 โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติ * ขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนผ่านการรับรองเพิ่มขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ 10 * พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข * เก็บ URINE ไอโอดีน ในหญิงตั้งครรภ์ 300 case/จังหวัด (โอนเงินให้จังหวัดละ 10,000 บาท) - มกราคม –กุมภาพันธ์ 62 (ส่งตรวจวิเคราะห์ศูนย์อนามัยที่ 5 เดือนมีนาคม 2562) * จัดงานรณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ (25 มิถุนายน 2562) * สุ่มสำรวจเกลือเสริมไอโอดีนในหมู่บ้าน ตำบลละ 30 ตัวอย่าง (ศูนย์ฯสนับสนุนชุด I-Kit)

บทบาทศูนย์อนามัย

ขอบคุณค่ะ