งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
เป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานด้าน การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะปฏิรูป (พ.ศ – 2564) แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดีกรม ควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อน (ร่าง) กรอบแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระยะปฏิรูป (พ.ศ ) สู่การปฏิบัติในพื้นที่ วันที่ มิถุนายน ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี

2 ตัวชี้วัดและเป้าหมายการลดโรคของกรมควบคุมโรค ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ตัวชี้วัด baseline เป้าหมายระยะ 5 ปี พ.ศ. 2560 2561 2562 2563 2564 Promotion & Prevention Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ปี 59 = 5.9 ≤ 5.0 ≤ 4.5 ≤ 4.0 ≤ 3.5 ≤ 3.0 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ปี 59 = 18.97 ≤ 18.00 ≤ 16.00 ≤ 14.00 ≤ 12.00 ≤ 11.00 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ร้อยละ) ปี 59 = 2.40 ≤ 2.40 ≤ 2.28 ≤ 2.16 แผนงานที่ 3 : การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ปี 58 = 19.9 ≤ 18 ≤ 17.5 ≤ 17 ≤ 16.5 ≤ 16 ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป (ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี) ปี 57 = 6.9 ≤ 6.81 ≤ 6.74 ≤ 6.68 ≤ 6.61 ≤ 6.54 Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ปี 59 = 77.89 ≥ 80% ≥ 82.5% ≥ 85% ≥ 87.5% ≥ 90% ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ ปี 59 DM = 19.54 HT = 30.99 DM = ≥40% HT = ≥50% DM =≥40%

3 งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCD)

4 “ประชาชนสุขภาพดี ปลอดจากภาระโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้”
ลดเสี่ยง (กลุ่มปกติ) ลดป่วย (กลุ่มเสี่ยง) ลดภาระโรค และลดตายก่อนวัยอันควร (กลุ่มป่วย) ผู้ป่วย DM รายใหม่จาก Pre-DM ลดลง ผู้ป่วย HT รายใหม่จาก Pre-HT ลดลง ผู้ป่วย DM/HT ได้รับการคัดกรอง CVD Risk ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี เพิ่มขึ้น ผู้ป่วย HT ควบคุมระดับความดันได้ดี เพิ่มขึ้น 2P 2S มาตรการ 3 เสริมสมรรถนะของระบบบริการสุขภาพ (Strengthening Health System)  NCD Clinic Plus  STOP CVD  Service Package : DM/HT ในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย  พัฒนาศักยภาพทีมสหวิชาชีพ มาตรการ 1 การนำขับเคลื่อนนโยบายและสร้างพันธมิตรความร่วมมือ (Policy & Advocacy)  ผลักดันยุทธศาสตร์ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ( ) “ชุมชนต้นแบบลดเค็ม”ภายใต้ ยุทธศาสตร์ลดบริโภคเกลือและ โซเดียมฯ มาตรการ 2P 2S มาตรการ 2 ส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง (Promotion and Risk Reduction)  สื่อสารประชาสัมพันธ์ป้องกันควบคุมโรค NCDs  ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อ(CBI-NCDs)  รณรงค์สื่อสาร วันสำคัญ DM/HT  Application : เกมส์ ให้ความรู้โรค NCDs มาตรการ 4 การเฝ้าระวังและติดตามประเมินผล (Surveillance and M&E)  พัฒนา Dashboard  BRFSS  CVD CKD Preventive Clinic Award  NCD Forum

5 งานป้องกันการบาดเจ็บ (INJURY) RTI & Drowning

6 อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปี 2560 ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน
ตาย >40 คน/วัน ปี 58 = 14,504 (ข้อมูลมรณบัตร) Admitted >500 คน/วัน พิการ >6,000 คน/ปี (4.6%ของ admitted) • Cost > 200,000 ล้านบาท/ปี • บาดเจ็บจาก รถ จยย. 80% การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร Road Traffic Injury (กระทรวงสาธารณสุข) อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปี 2560 ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน เป้า Thai Roads . สวมหมวก 42% รถ จยย.(IS ปี 58) . สวมหมวก <10% . Head Injury 50% . เมาขับ 30% ปี สูงสุด ถนน รถ มาตรการ RISK เร็ว ดื่มขับ อื่น ๆ ใม่ใช้ หมวก/ belt กรอบมาตรการ 5 เสาหลัก (ศปถ.) 1) การบริหารจัดการ (ข้อมูล) 2) ถนนและการสัญจรปลอดภัย 3) ยานพาหนะ ปลอดภัย 4) ผู้ใช้รถใช้ถนนปลอดภัย 5) การตอบสนองหลังเกิดเหตุ

7 การป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร
ตัวชี้วัดเป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ baseline ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 2560 2561 2562 2563 2564 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ต่อประชากรแสนคน) 18.97 ไม่เกิน 18.00 ไม่เกิน 16.00 ไม่เกิน 14.00 ไม่เกิน 12.00 ไม่เกิน 11.00 มาตรการ 2 ด้านการจัดการข้อมูลและประเมินผล 1. บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน 2. พัฒนา ระบบ IS Online 3. พัฒนา งานสอบสวน 4. ประเมินผล มาตรการระดับพื้นที่และระดับประเทศ มาตรการ 1 ด้านบริหารจัดการ 1. SAT-EOC RTI คุณภาพ 2. Trauma & Emergency Admin Unit (TEA Unit) คุณภาพ 3. สสอ. / รพช. / คปสอ. เป็นเลขาร่วม ศปถ.อำเภอ 4. เขตสุขภาพ มีแผนและสนับสนุน งปม.ในพื้นที่ มาตรการ 3 ด้านการป้องกันและขับเคลื่อนนโยบาย 1. ขับเคลื่อน นโยบายระดับพื้นที่และระดับประเทศ 2. ขับเคลื่อน DHS-RTI 3. ขับเคลื่อนป้องกัน RTI ตามบริบทพื้นที่ (มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน/จัดการจุดเสี่ยง/สื่อสารความเสี่ยง/City RTI) 4. มาตรการองค์กร มาตรการ 4 ด้านการรักษา 1. EMS คุณภาพ 2. ER คุณภาพ 3. In-hos คุณภาพ 4. Referral System

8 การป้องกันเด็กจมน้ำ มาตรการ 1 มาตรการ 2 มาตรการ 3 ด้านนโยบาย
ตัวชี้วัดเป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ baseline ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 2560 2561 2562 2563 2564 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี 5.9 ≤ 5.0 ≤ 4.5 ≤ 4.0 ≤ 3.5 ≤ 3.0 มาตรการ 1 ด้านนโยบาย มาตรการ 2 ด้านป้องกันระดับชุมชน มาตรการ 3 ด้านข้อมูล และสื่อสารความเสี่ยง ผลักดันการสร้างทีม Merit Maker จัดทำแผนยุทธศาสตร์ “ความปลอดภัยทางน้ำระดับชาติ” และนำสู่การปฏิบัติ เฝ้าระวังการจมน้ำช่วงปิดเทอม พัฒนาศักยภาพเครือข่าย สอบสวนการจมน้ำของเด็กทุกราย เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกวดผลการดำเนินงาน รณรงค์ป้องกันการจมน้ำ ส่งเสริมการใช้คอกกั้นเด็ก (playpen) แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก (ที่มีเด็กอายุ 1-2 ปี) ติดตาม/ประเมินผล

9 งานควบคุมเครื่องดื่ม ALCOHOL

10 การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัดเป้าหมายการลดโรคและภัยสุขภาพ baseline ปีงบประมาณ พ.ศ. พ.ศ. 2560 2561 2562 2563 2564 ตัวชี้วัดที่ 1 ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ ปี ปี 58 = 19.4 ≤ 19.9 ≤ 18.9 ตัวชี้วัด Proxy ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มวัยรุ่น จากผลการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง (BSS) ปี 59 = 43.2 ≤ 42.8 ≤ 42.4 ≤ 41.9 ≤ 41.5 ≤ 41.1 ตัวชี้วัดที่ 2 ปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป (ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี) ปี 57 = 6.9 ≤ 6.81 ≤ 6.74 ≤ 6.68 ≤ 6.61 ≤ 6.54 มาตรการที่ 1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลและการนำไปใช้ประโยชน์ มาตรการที่ 2 ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการควบคุมโฆษณา และส่งเสริมการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรการที่ 3 สื่อสารสาธารณะ เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยมและลดแรงสนับสนุนในการดื่ม มาตรการที่ 4 มาตรการระดับชุมชน มาตรการที่ 5 สนับสนุนมาตรการคัดกรองและบำบัดรักษา ชุดกิจกรรม 1. สร้างความตระหนักและกำหนดกิจกรรมในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยชุมชน 2. ใช้มาตรการทางสังคมในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3. เผยแพร่รูปแบบชุมชนต้นแบบ ชุดกิจกรรม 1. สำรวจสถานพยาบาล 2. พัฒนาศักยภาพสถานพยาบาลทุกระดับในจังหวัด 3. ผลักดันให้มีClinical Practice Guideline (CPG) และนำไปใช้ ชุดกิจกรรม 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2. จังหวัดจัดทำฐานข้อมูลเชิงระบาดวิทยา 3. บูรณาการฐานข้อมูล 4. นำข้อมูลไปใช้ในการกำหนดนโยบายของพื้นที่ 5. พัฒนาบุคลากร 6. สรุปผลการดำเนินงาน ชุดกิจกรรม 1. ประชาสัมพันธ์เกณฑ์โรงเรียนปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2. ประเมินตามเกณฑ์ 3. ตัดสินและมอบรางวัล ชุดกิจกรรม 1. ติดตามและสรุปผลการดำเนินงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของจังหวัด และรายงานคณะกรรมการฯ จังหวัด 2. ตรวจเตือน เฝ้าระวัง ประชาสัมพันธ์และบังคับใช้กฎหมาย

11 งานควบคุมการบริโภคยาสูบ (TOBACCO)

12 การควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการที่ 1 พัฒนากลไก นโยบาย/กฎหมาย สร้างความร่วมมือ และการสื่อสารความเสี่ยง ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯสู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ พัฒนานโยบายควบคุมยาสูบที่สอดคล้องกับพื้นที่มากขึ้น พัฒนาอนุบัญญัติ การพัฒนาโครงสร้างการดำเนินงานระดับพื้นที่ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนฯ พัฒนากลไกการควบคุมยาสูบระดับจังหวัด/อำเภอ (บูรณาการสุรา – ยาสูบ) พัฒนากลไกความร่วมมือการดำเนินงานควบคุมยาสูบในทุกภาคส่วนและทุกระดับ พัฒนาการประชาสัมพันธ์กฎหมายหรือโทษพิษภัยและกลยุทธ์ในการทำตลาดของยา ลดอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป (baseline ปี 58 = 19.9) 2560 2561 2562 2563 2564 ไม่เกิน 18 ไม่เกิน 17.5 ไม่เกิน 17 ไม่เกิน 16.5 ไม่เกิน 16 1 2 5 มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และการจัดการความรู้ในการป้องกัน ควบคุมการบริโภคยาสูบ การจัดทำระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับยาสูบ การสำรวจข้อมูล/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับยาสูบ การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการเฝ้าระวังควบคุมยาสูบ ทั้งในกลุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไป มาตรการที่ 4 การทำให้สิ่งแวดล้อมปลอดควันบุหรี่ ดำเนินงานสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดควันบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ ดำเนินการเฝ้าระวังควบคุมและบังคับใช้กฎหมาย(บูรณาการสุรา – ยาสูบ) เสริมสร้างความรู้แก่ ผู้รับผิดชอบ/ผู้ดูแล สถานที่สาธารณะ เรื่องการจัดสถานที่ให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมายกำหนด พัฒนาโมเดลอำเภอต้นแบบปลอดบุหรี่ จำแนกตามขนาดอำเภอ (นอก/ในเขตเทศบาล)/สร้างมาตรการสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ในชุมชน ลดอัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่น อายุ 15–18 ปี (baseline ปี 58 = 8) 2560 2561 2562 2563 2564 ไม่เกิน 9 ไม่เกิน 8.5 ไม่เกิน 8 1 2 3 มาตรการที่ 3 การป้องกันมิให้เกิดผู้เสพยาสูบรายใหม่และปกป้องเยาวชนจากกลยุทธ์ของอุตสาหกรรมยาสูบ การขับเคลื่อนการดำเนินการโรงเรียน/สถานศึกษาปลอดบุหรี่แบบองค์รวม (บูรณาการสุรา – ยาสูบ) พัฒนาแนวทาง/มาตรฐาน/ขับเคลื่อนภาคีเครือข่าย/สร้างความรู้ความตระหนักโทษ พิษ ภัยร่วมไปกับการปรับพฤติกรรมในเยาวชน เพื่อการลด เลิกการสูบบุหรี่ เฝ้าระวังควบคุมและบังคับใช้กฎหมายกับผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเยาวชน โดยชุดปฏิบัติการบังคับใช้กฎหมายของจังหวัด พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถให้คำปรึกษาการเลิกบุหรี่เบื้องต้น และส่งต่อสถานบริการ ลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองของประชาชน 2560 2561 2562 2563 2564 ลดลง ร้อยละ 15 ลดลง ร้อยละ 20 ลดลง ร้อยละ 25 ลดลง ร้อยละ 30 ลดลง ร้อยละ 35 1 มาตรการที่ 5 การช่วยผู้เสพให้เลิกยาสูบ ขับเคลื่อนระบบบำบัดโรคเสพติดยาสูบ การติดตาม และการเชื่อมโยงข้อมูลในสถานบริการสุขภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรการให้บริการระบบบำบัดโรคเสพติดยาสูบ พัฒนาโมเดล/รูปแบบ การเลิกยาสูบในระดับชุมชน ขยายพื้นที่การดำเนินงานพัฒนาการเลิกบุหรี่ในชุมชน 4

13 ขอบพระคุณ ครับ / ค่ะ


ดาวน์โหลด ppt แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google