งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
ชื่อตัวชี้วัด : Mo 2 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ≤ 6.3 ต่อประชากรแสนคน สถานการณ์ อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จมีแนวโน้มลดทุกๆปี อยู่ที่ 2.64 มี 2 จังหวัดที่ต้องเฝ้าระวัง คือ สตูล และพัทลุง มีผู้พยายามฆ่าตัวตาย 447 คน ทำร้ายตัวเองซ้ำ 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3.13 ตรัง พัทลุง จังหวัด ฆ่าตัวตายสำเร็จ อัตรา นราธิวาส 6 0.90 ยะลา 8 1.58 ปัตตานี 1.18 สงขลา 38 2.73 สตูล 16 5.05 พัทลุง 26 5.0 ตรัง 25 3.90 เขต 12 126 2.64 สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น ทีมสหวิชาชีพมีศักยภาพและความพร้อม มีจิตแพทย์ครบทุกจังหวัด ยกเว้น จ.สตูล (เพิ่งลาออก ก.ค.61) รวม 17 คน (ไม่รวม รพจ.) มีพยาบาล ป.โท 97 คน PG จิตเวช 81 คน ปัญหา/ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกของผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จทำได้ยังไม่ครอบคลุม การ วิเคราะห์เชิงลึกเพื่อวางแผนป้องกันหรือConference case death ทุกราย ผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จบางส่วนไม่เคยเข้ารักษาในระบบของโรงพยาบาล การจัดกิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต เพิ่มการประเมินคัดกรองในกลุ่มเสี่ยง

2 สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ชื่อตัวชี้วัด : Mo 8 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (≥ ร้อยละ 58 ) ตรัง จังหวัด จำนวน ร้อยละ นราธิวาส 10,848 81.98 ยะลา 5,051 57.92 ปัตตานี 7,876 67.60 สงขลา 14,939 58.88 สตูล 3,366 60.99 พัทลุง 8,051 82.23 ตรัง 10,617 90.47 เขต 12 60,741 70.61 ประเทศ 801,034 55.99 สถานการณ์ การเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นตามลำดับ ภาพรวมของเขตร้อยละ ซึ่งมากกว่าเป้าหมาย มีเพียง จ.ยะลา ไม่ถึงเกณฑ์เพียงเล็กน้อย และภาพรวมของเขต 12 สูงกว่าระดับประเทศ พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น ระบบ Service plan ของแต่ละจังหวัดเข้มแข็ง รพ.เครือข่ายสุขภาพจิตให้บริการส่งเสริมและป้องกันทั้งเชิงรุกและเชิงรับ โดยบูรณาการกับคลินิกโรคเรื้อรังทางกาย มุ่งเน้นการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงที่สำคัญ ปัญหา/ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ ฐานข้อมูล HDC กับพระศรีมหาโพธิ์ กรมสุขภาพจิต ยังแตกต่างกัน การจัดการ ตรวจสอบข้อมูลใน 43แฟ้มให้ครบสมบูรณ์ และนำส่งตามระยะเวลา แพทย์ รพช.ยังขาดความมั่นใจในการวินิจฉัยโรคทางจิตเวช การ Coaching แพทย์โดย ระบบ Service plan ของแต่ละจังหวัด

3 สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561
ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นเข้าถึงบริการสุขภาพจิต 7 (≥ ร้อยละ 9 ) ร้อยละของผู้ป่วยโรค ASD เข้าถึงบริการสุขภาพจิต (≥ ร้อยละ 11 ) จังหวัด ASD (11) ADHD(9) นราธิวาส 4.49 1.66 ยะลา 1.3 0.43 ปัตตานี 12.01 3.05 สงขลา 50.75 19.35 สตูล 7.94 พัทลุง 39.22 6.92 ตรัง 1.97 1.33 เขต 12 20.67 7 ประเทศ 48.68 14.45 สถานการณ์ การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นไม่เป็นไปตามเป้าหมาย แต่โรคออทิสติกสามารถดำเนินการได้ดี มากกว่าเป้าหมาย ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น มีจิตแพทย์เด็ก 6 คน พยาบาล PG เด็ก 50 คน ร่วมกับกุมารแพทย์ในการวินิจฉัยเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ ปัญหา/ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นมีเพียง 2 จังหวัด และมีพยาบาล PG จิตเวชเด็กไม่ครอบคลุมทุก รพ. ส่งเสริมให้มีพยาบาล PG ครบทุก รพ. บางจังหวัดฐานข้อมูลใน HDC น้อยกว่าข้อมูลที่มีจริง ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 43 แฟ้ม


ดาวน์โหลด ppt สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google