งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 สำนักโภชนาการ โดย แพทย์หญิงนภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ วันที่ 6 มกราคม 2559

2 เริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ10
เด็กนักเรียนมีภาวะ เริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ10

3

4 สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน จากระบบ HDC ปี 2558
ร้อยละ สิงห์บุรี เป้าหมายปี 58 ไม่เกินร้อยละ 10 ชัยนาท สุพรรณบุรี ลำพูน สมุทรปราการ พิษณุโลก ชัยภูมิ ขอนแก่น เลย ยโสธร เขตสุขภาพ

5 คำนิยาม  เด็กนักเรียน : เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 5 ปี จนถึง 14 ปี
(โดยเริ่มนับตั้งแต่อายุ 5 ปี 1 วัน – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน) ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน : น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง  + 2 S.D. (โดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของกรมอนามัย ปี 2542)  เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง : เด็กที่มีภาวะอ้วน  + 3 S.D. โรงเรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด : โรงเรียนระดับประถมศึกษา หรือโรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส ทุกสังกัด

6 สูตรการคำนวณ ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน :
จำนวนเด็กอายุ ปี ที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน x 100 จำนวนเด็กอายุ ปี ที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด

7 มาตรการ 1. ระบบข้อมูล 3. การคัดกรองแก้ไข 4. การบริหารจัดการ
2. การส่งเสริมป้องกัน 3. การคัดกรองแก้ไข 4. การบริหารจัดการ 1.1 ระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม 1.2 ระบบรายงาน HDC - ข้อมูลนน./สส.นักเรียนทุกรร.ภาคเรียนที่ 1 และ 2 1.3 ข้อมูลจำนวนรร. และรายชื่อ รร.ที่มี ปัญหาภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน  ร้อยละ 10 1.4 ข้อมูลนร.ที่มีภาวะ อ้วน และได้รับการส่ง ต่อ service plan 2.1 การจัดการสวล.ในรร.ด้านโภชนาการ และการออกกำลังกาย 3.1 พัฒนาระบบการคัดกรองสุขภาพ การจัดการ และแก้ไขปัญหา การคัดกรอง เด็กที่มีภาวะเริ่ม อ้วน และอ้วน - อ้วนไม่มีโรค : จัดการนน. - อ้วนมีโรค : ส่งต่อ service plan 4.1 การบริหารจัดการแบบบูรณาการ : รร. (ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้) และผ่านระบบ DHS 4.2 สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 4.3 พัฒนาศักยภาพและทักษะภาคีเครือข่าย - นักจัดการนน.เด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher)

8 บทบาทของสำนักโภชนาการ
สื่อ นวัตกรรม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ * แนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ และแก้ปัญหาเด็กอ้วน กลุ่มเสี่ยง ในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC * คู่มือการจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน * แนวทางการจัดค่ายลดน้ำหนักกินพอดีไม่มีอ้วน ฯลฯ การประชุมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเข้มแข็ง Smart Kids Coacher 4 ภาค การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * การจัดการปัญหาเด็กอ้วนแบบองค์รวม * การคัดกรอง ส่งต่อ และแก้ปัญหาเด็กอ้วน กลุ่มเสี่ยง ในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC

9 บทบาทศูนย์อนามัย 1 สนับสนุน จว.จัดตั้งคกก.และจัดทำแผนลดปัญหาภาวะอ้วนในเด็กนักเรียนระดับเขต ระดับจว. โดย PM จว. 2 สนับสนุน จว.มีฐานข้อมูลจำนวน และรายชื่อรร.ในพื้นที่ที่มีปัญหาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน  ร้อยละ 10 3 3.1 สนับสนุน จว.มีการชั่งนน.วัดสส. เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการและคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง 3.2 รายงานรอบที่ 1 นำเข้าข้อมูล เดือน ต.ค.,พ.ย., ธ.ค. ตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 1 ม.ค. 3.3 รายงานรอบที่ 2 นำเข้าข้อมูล เดือน พ.ค., มิ.ย., ก.ค. ตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 1 ส.ค. 4 สนับสนุน จว. ดำเนินการดังนี้ 4.1 ถ่ายทอดแนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง ให้รพช. สสอ. รพสต. และรร. 4.2 คัดกรองโดยการตรวจ obesity sign 1) รอบคอดำ 2) นั่งหลับ 3) นอนกรน 4) ประวัติเจ็บป่วยครอบครัว 4.3 รายงานตามระบบ

10 บทบาทศูนย์อนามัย (ต่อ)
5 สนับสนุนให้ รร.มีการนำแผนการเรียนรู้ เรื่องการจัดการน้ำหนักด้านโภชนาการและ การเคลื่อนไหวร่างกายใช้ในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 6 สนับสนุน จว.มีรายงานจำนวนนักจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) (ครูข.) และแกนนำ นร. ด้านการจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน (Smart Kids Leader) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและทักษะ

11 รอบการประเมิน / คะแนนการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน ระดับชั้นความสำเร็จ รอบการประเมิน / คะแนนการประเมิน 6 เดือนแรก 6 เดือนหลัง คะแนน ขั้นตอนที่ 1 ศูนย์พัฒนาศักยภาพ รพช. รพ.สต. และโรงเรียน ให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลคัดกรอง และจัดการน้ำหนักเด็กได้ 2 ขั้นตอนที่ 2 70 % ของนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วนได้รับการจัดการนน.ตามแผน Smart Kids Coacher และส่งต่อ service plan หรือคลินิก DPAC 3 ขั้นตอนที่ 3 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 12.50 ขั้นตอนที่ 4 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 11.25 1 ขั้นตอนที่ 5 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 10 คะแนนรวม 10

12 ตัวชี้วัดอื่นๆ การส่งเสริมเด็กไทยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
เป้าหมาย : เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 การจัดทำข้อเสนอนโยบาย “ลดหวาน มัน เค็ม เติมเต็มผักผลไม้” การขับเคลื่อนองค์กรต้นแบบไร้พุง เป้ามาย: จำนวนองค์กรต้นแบบไร้พุงแห่งใหม่อย่างน้อยจังหวัดละ 2 แห่ง

13 ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google