งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559 Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ แพทย์หญิงนภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ 23 สิงหาคม 2559

2 Cluster วัยทำงาน

3 มาตรการ กระบวนการ เป้าหมาย
พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ (National Health Policy & Strategy) นโยบายสาธารณะ ลดหวาน มัน เค็ม เติมเต็มผักผลไม้ Happy Healthy Workplace BMI ปกติ พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ พัฒนาศักยภาพภาคี เครือข่ายทุกระดับในการเสริมพลัง (Health Leader) จัดทำ Application ส่งเสริมสุขภาพ จัดทำชุดความรู้การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย

4 ผลการดำเนินงาน ปี พ.ศ. 2559 กลุ่มวัยทำงาน

5 BMI ปกติ ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป แยกตามเขตบริการสุขภาพ
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2559 ที่มา : ข้อมูล BMI ปกติ (สมส่วน BMI   ในประชารกอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี จาก ณ วันที่ 21 สิงหาคม 2559

6 แนวโน้ม อัตราความชุกของภาวะอ้วนในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี พ. ศ
แนวโน้ม อัตราความชุกของภาวะอ้วนในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี พ.ศ ตัวชี้วัด อัตราความชุกของภาวะอ้วนในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป แยกตามเขตบริการสุขภาพ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2559 ที่มา : ข้อมูลอัตราความชุกภาวะอ้วนในประชารกอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี จาก ณ วันที่ 21 สิงหาคม 2559

7 1. โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
พัฒนาทีมเยี่ยมประเมินรับรองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ โดยร่วมกับศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา และศูนย์อนามัยที่ 1 เชียงใหม่ จำนวน 3 แห่ง ดังนี้ โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ เดือนกรกฎาคม 2559 ประชุมร่วมกับศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี พิจาณาตัดสินแล้ว จำนวน 22 แห่ง สรุปภาพรวม มีโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (HPHNQC) แล้วทั้งหมด 141 แห่ง ระดับดีเด่น 9 แห่ง ระดับดีมาก 39 แห่ง มีโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (HPHNQC) แล้วทั้งหมด 165 แห่ง ระดับดีเด่น แห่ง ระดับดีมาก แห่ง ระดับดี แห่ง โดยแบ่งเป็นสังกัด สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข แห่ง กรมอนามัย แห่ง กรุงเทพมหานคร แห่ง สำนักตำรวจแห่งชาติ แห่ง กลาโหม แห่ง

8 2. โครงการสามวัยโภชนาการดี เพื่อชีวีมีสุข ปี 2559
โรงพยาบาลด้านโภชนบำบัดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลที่สามารถเป็นโรงพยาบาลต้นแบบ ประเมินทั้งหมด 48 แห่ง ระดับประเทศจำนวน 24 แห่ง ระดับเขตสุขภาพจำนวน 4 แห่ง ระดับดีจำนวน 8 แห่ง

9 2. โครงการสามวัยโภชนาการดี เพื่อชีวีมีสุข ปี 2559 (ต่อ)
ทดสอบการยอมรับการจัดทำคู่มือแนวทางการใช้ อาหารบำบัดโรคอ้วน เบาหวาน ความดัน หลอดเลือด 4 ภาค ลดหวาน มัน เค็ม พัฒนานโยบายสาธารณะ ลดหวาน มัน เค็ม เติมเต็มผักผลไม้ พัฒนาศักยภาพภาคี เครือข่าย ในการเสริมพลัง จัดกิจกรรมสัปดาห์ ลดเค็ม รณรงค์ให้ความรู้

10 3. โครงการสื่อสารสุขภาพสู่การสร้างสรรค์ชีวิต: วัยทำงาน (CSR in Health)
สร้างแกนนำส่งเสริมสุขภาพ มีสถานประกอบการเข้าร่วมอบรมเพื่อเป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพจำนวน 26 แห่ง มีสถานประกอบการส่งโครงการส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 8 แห่ง พัฒนาสื่อดิจิทัล มี Application ส่งเสริมสุขภาพจำนวน 7 แอป มี Infographic เพื่อเผยแพร่ความรู้สุขภาพ จำนวน 20 เรื่อง

11 4. โครงการคนไทยไร้พุง พ.ศ

12 5.โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า
ต้านภัยมะเร็งเต้านม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย BSE > 80% Early stage (0 ,1, 2) > 70% สร้างรูปแบบการคัดกรองมะเร็ง เต้านม ที่เริ่มจาก BSE กลุ่มเป้าหมาย สตรีอายุ ปี Regis 1.9 ล้านคน นำร่องใน 21 จังหวัด (ปี ) ผลการดำเนินงานปี Regular BSE 74.6% 69.0% 69.1% CA Breast 557, 581, 95 Case Early Stage (0,1,2) 68.4 % % 74.4 % ปัจจัยความสำเร็จ การสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายต่างๆทั้งในและนอกกระทรวง สร้างความตระหนัก กับ ปชช BSE เป็น Self care ใช้สมุดบันทึก BSE และใช้ U/S ความคาดหวัง / ก้าวต่อไป จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ขยายการดำเนินงานครอบคลุมทั่วประเทศ

13 การดำเนินงานสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ( Healthy Workplace )
ปีงบประมาณ 2559 หน่วยงานรัฐ และสถานประกอบการเอกชน ที่ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน และได้รับใบประกาศเกียรติคุณจากกรมอนามัย ปี เป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 26,475 แห่ง

14 แผนการขับเคลื่อนโครงการ สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน
ปี 2560 1 ปรับปรุงและพัฒนามาตรฐาน Healthy orkplace เป็น Happy Healthy Workplace พัฒนาชุดความรู้สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน 2 พัฒนาต้นแบบ Happy Healthy Workplace โดยแยกเป็น 3 Setting นำร่อง ดังนี้ ) สำนักงาน (ราชการ/เอกชน) ) รพ./รพ.สต ) สถานประกอบการ/โรงงาน

15 แผนการจัดสรรงบประมาณ พ.ศ. 2560
1.โครงการนโยบาย ระดับ ชาติ เรื่อง Healthy eating, Active Living and Environmental Health 2.โครงการส่งเสรมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ในชุมชน 3.โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการ 4.โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง 5.โครงการพัฒนาชุดความรู้ตาม กลุ่มอายุ ปี ปี, ปี และ การเตรียม ความพร้อมก่อน เข้าสู่วัยสูงอายุ 6.โครงการดูแลและเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม ภายใต้โครงการสืบสาน พระราชปณธิาน สมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม 7.โครงการพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลโครงการ 8.โครงการพัฒนาชุดมาตรฐานข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน ส่วนกลาง 8,715,000 บาท ศูนย์อนามัย 3,395,000 บาท งบประมาณ 12,110,000 บาท

16 โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินการ โดยศูนย์อนามัยประมาณ พ.ศ. 2560
โครงการ /กิจกรรม 1. โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ในชุมชน - อบรม Health Leader (ประชาชน/พระสงฆ์) 2. โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการ - พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในการดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 3. โครงการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง - นำร่องพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทอง ศอ.ละ 1 จังหวัด - พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่นำร่อง 4. โครงการดูแลและเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม ภายใต้โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม* - พัฒนาความรู้และทักษะการตรวจเต้านมตนเองในบุคลากรสาธารณสุข - พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อประเมินประสิทธิผล - ประชุมถอดบทเรียนความสำเร็จของการดำเนินงาน 5. นิเทศติดตามงาน Cluster วัยทำงาน

17 สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2559 และ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2560
Cluster ผู้สูงอายุ

18

19 มาตรการ กระบวนการ เป้าหมาย
ปฏิรูประบบ บริการสุขภาพ สร้างมาตรฐาน ผู้บริบาล พัฒนาระบบกำลังคน ด้านสุขภาพ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ และสังคม รวมทั้งระบบ Long Term Care พัฒนาระบบสวัสดิการแบบ ประชารัฐ “ชุดสิทธิประโยชน์ ธรรมนูญชุมชน พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี > 69 ปี (ภายใน 5 ปี ) พัฒนาระบบบริหารจัดการ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อผู้สูงอายุสู่ความยั่งยืน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ Brain Bank ในองค์กร โรงเรียนผู้สูงอายุ แบบบูรณาการ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีสุขภาพดี ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ มีฟันใช้งานได้ อย่างน้อย 20 ซี่ 4 คู่สบ 3. ดัชนีมวลกาย/รอบเอว ปกติ 4. สามารถช่วยเหลือตัวเอง และผู้อื่นได้ตามอัตภาพ 5. มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค์อยู่ในสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร อบรม Care manager อบรม Caregiver ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของจตุพลัง ส่งเสริม Ageing friendly Community สร้างหลักสูตร Care manager สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ (ลิขสิทธิ์กรม) ชุดองค์ความรู้ สร้างความรู้ ตระหนักและทักษะในการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพตนเองของ ประชาชน ครอบครัว ชุมชน M&E พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศผู้สูงอายุ พัฒนาระบบเฝ้าระวังการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพตนเองของ ประชาชน ครอบครัว ชุมชน

20 ผลการดำเนินงานตามประเด็น LEAD ของ CLUSTER ปี 2559
การดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน เป้าหมาย : ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ในชุมชน 100,000 ราย ทุกจังหวัด ทุกอำเภอ 1,000 พื้นที่ ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน 1.ตำบล LTC สู่ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ - 1,067 แห่ง 2.Care manager ผ่านการอบรม 2,000 คน 2,265 คน 3.Caregiver ผ่านการอบรม 6,000 คน 18,929 คน 4.Care plan รายบุคคล 20,130 ฉบับ 5.ผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลตาม Care plan -กลุ่มติดเตียงเป็นติดบ้าน -กลุ่มติดบ้านเป็นกลุ่มติดสังคม ร้อยละ 19.2 ร้อยละ 18.7

21 โครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดี มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม(20 ซี่ หรือ 4 คู่สบ) อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดี เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต ผลงานปี 2559 1. ผู้สูงอายุทั่วประเทศ 40,000 คน ได้รับบริการใส่ฟันเทียมพระราชทาน 2. มีชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น 300 ชมรม 3. ร้อยละ 30 ของหน่วยบริการระดับปฐมภูมิในตำบล LTC มีการจัดบริการ ส่งเสริมป้องกันแก่ผู้สูงอายุ 4. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุด้านการ ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในระดับเขต 5. รณรงค์สร้างกระแส และประชาสัมพันธ์โครงการร่วมกับหน่วยทันตกรรม พระราชทานและภาคเอกชน

22 แผนงานโครงการ ปี 2560 แผนงาน โครงการ งบประมาณ
แผนเสมอภาครองเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ 1 โครงการทันตสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ประเทศไทย พ.ศ – 2565 16,716,000 2 โครงการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม เพื่อลดปัญหามะเร็งช่องปากที่สัมพันธ์ กับ โรคทางระบบ (เบาหวาน,ความดันโลหิตสูง) 14,000,000 3 โครงการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาว ด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มี ภาวะพึ่งพิงในตำบล Long Term Care 50,430,000 บูรณาการกลุ่มวัยผู้สูงอายุและผู้พิการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ 10,500,000 ส่วนกลาง ,936, บาท ศูนย์อนามัย ,710, บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น 91,646, บาท

23 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม
(THAI ATIVE AGING: Strong Social and Security)

24


ดาวน์โหลด ppt Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google