งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ห้องประชุมกองแผนงาน กรมอนามัย 2 พฤษภาคม 2559

2 วาระการประชุม วาระที่ 1 : เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 การแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนและบูรณาการตามภารกิจสำคัญกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วาระที่ 2 : รับรองรายงานประชุม 2.1 รายงานการประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 1/2559 วาระที่ 3 : เรื่องสืบเนื่อง 3.1 รายงานความก้าวหน้าระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย โดย กองแผนงาน วาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ 4.1 ระบบการคลังและงบประมาณ โดย เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการการคลังและงบประมาณ 4.2 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การติดตามประเมินผลและปรับแผนการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วาระที่ 5 : เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)

3 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 การแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนและ บูรณาการตามภารกิจสำคัญกระทรวง สาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (เอกสารหมายเลข 1)

4

5 วาระที่ 2 รับรองรายงานประชุม
วาระที่ 2 รับรองรายงานประชุม ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมหัวหน้า กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 1/ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ซึ่งกองแผนงานใน ฐานะเลขานุการได้แจ้งเวียนให้หัวหน้ากลุ่มบริหาร ยุทธศาสตร์ กรมอนามัยทุกท่าน เมื่อวันที่ 10 มีนาคม (เอกสารหมายเลข 2)

6 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
รายงานความคืบหน้าคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม

7 รายละเอียดรายการข้อมูล (template) เพื่อการเฝ้าระวัง
1. ตัวชี้วัด 2. คำนิยาม 3. เกณฑ์เป้าหมาย 4. ประชากรกลุ่มเป้าหมาย 5. วิธีการจัดเก็บข้อมูล 6. แหล่งข้อมูล 7. รายการข้อมูล 8. สูตรคำนวณตัวชี้วัด 9. หน่วยงานจัดเก็บข้อมูล* 10. วิธีการรายงาน/ความถี่ในการรายงาน* 11. หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัด 12. ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานจัดทำรายงานตัวชี้วัด 13. หน่วยงานนำเข้าข้อมูล 14. หน่วยงานนำเข้าข้อมูลส่วนกลาง 15. หน่วยงานนำเข้าข้อมูลส่วนภูมิภาค 16. การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์* 17. การเผยแพร่ข้อมูล* 18. มิติข้อมูล*

8 ตัวชี้วัดที่ได้จากการรวบรวมทั้งหมด
หน่วยงาน จำนวนรายการข้อมูลที่เกี่ยวข้องแต่ละ cluster รวม แม่และเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน วัยสูงอายุ สิ่งแวดล้อม ระบุไม่ได้ สำนักส่งเสริมสุขภาพ 10 3 1 2 16 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 13 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 4 สำนักทันตสาธารณสุข 7 8 6 27 สำนักอนามัยผู้สูงอายุ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 14 สำนักโภชนาการ 30 กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กองประเมินผลกระทบ ต่อสุขภาพ 19 รวมทั้งหมด 118 ตัวชี้วัด

9 จำนวนรายการข้อมูลจำแนกตาม 5 มิติ มิติประเด็นเฝ้าระวัง
ร้อยละ Risk Factors 21 17.8 Protective Factors 17 14.4 Promoting Intervention 13 11.0 Health Outcomes 23 19.5 Life Impact - ยังไม่ระบุ 31 26.3 มีหลายมิติ รวม 118 100%

10 จำนวนรายการข้อมูลจำแนกตามวิธีจัดเก็บ
วิธีการจัดเก็บ รายการข้อมูล จำนวน ร้อยละ รายงานจาก อปท./สสจ. 58 49 สำรวจโดยสำนัก/กอง/ศูนย์ 28 24 ระบบ HDC 19 16 หน่วยอื่น 9 8 ไม่ระบุ 4 3 รวม 118 100%

11 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ 4.1 ระบบการคลังและงบประมาณ
กรมอนามัย 2 พฤษภาคม 2559

12 ประเด็นการนำเสนอ 1. กรอบแนวคิดและสถานการณ์ 2. ประเด็นการเปลี่ยนแปลง
3. แผนการเปลี่ยนแปลง

13 กรอบแนวคิด มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 Hurdles
กลุ่มบริหารการคลังและงบประมาณ วางแผนงบประมาณ การจัดการงบประมาณ การคำนวณต้นทุนผลผลิต การจัดระบบการจัดซื้อ จัดจ้าง การบริหารทางการเงินและควบคุมงบประมาณ การบริหารงบประมาณ การบริหารสินทรัพย์ การรายงานทางการเงินและงบประมาณ การติดตามและประเมินผล การควบคุมและตรวจสอบภายใน

14 วิเคราะห์ กระบวนการบริหารการคลังและงบประมาณ (เงินงบประมาณ)
วิสัยทัศน์ กรมอนามัย การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส : นโยบายรัฐบาล นโยบาย กระทรวง มติคณะรัฐมนตรี 2. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย อุปสรรค : ความขัดแย้งทางการเมือง ระบบเศรษฐกิจ (ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประเทศ หนี้สาธารณะ เงินคงคลัง ฯลฯ) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน จุดแข็ง : กลยุทธ์ด้านงบประมาณที่ ชัดเจน 2. โครงสร้างองค์กรชัดเจน 3. มีระบบปฏิบัติงานที่เหมาะสม (ระบบพัสดุ/ระบบบัญชี/ระบบการติดตามประเมินผล) จุดอ่อน : ทักษะการปฏิบัติงานบุคลากร ด้านการคลังและงบประมาณไม่เพียงพอ พันธกิจ กรมอนามัย เป้าประสงค์ กรมอนามัย ยุทธศาสตร์ กรมอนามัย (3 L) : Lean Learn Gap Analysis ประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณกรมอนามัยยังไม่สามารถตอบสนองต่อนโยบาย ได้อย่างครอบคลุม 2. ทักษะการปฏิบัติงานบุคลากรด้านการคลังและงบประมาณมีไม่เพียงพอ ระบบข้อมูลด้านการคลังและงบประมาณยังไม่ทันต่อสถานการณ์

15 ประเด็น : กระบวนการบริหารการคลังและงบประมาณ (เงินงบประมาณ)
Core Business Screen & Select Production Screen & Select Production Sale & Service Output/ Outcome การจัดทำคำของบประมาณ (สำนัก/กอง/ศูนย์) (Function/Agenda/Area) Cluster Committee (รองอธ ประธาน) Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) คำของบประมาณแต่ละ Cluster คำของบประมาณกรมอนามัย 1. สธ. 2. สงป. 3. สนช. งบประมาณรายจ่ายประจำปี การจัดทำงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับ (สำนัก/กอง/ศูนย์) Cluster Committee (รองอธ ประธาน) งบประมาณที่ได้รับแต่ละ Cluster Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) การจัดสรรงบประมาณ IT การบริหารงบประมาณ ดำเนินการ จัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ (สำนัก/กอง/ศูนย์) Cluster Committee (รองอธ ประธาน) แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณCluster แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณกรมอนามัย Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง บัญชี การเบิกจ่าย การตรวจสอบภายใน การติดตามประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ (สำนัก/กอง/ศูนย์) ผลการดำเนินงาน/ผลการเบิกจ่ายงบประมาณที่เป็นไปตามเป้าหมาย ผลปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณกรมอนามัย กำกับ ติดตาม ผลปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณCluster Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) Cluster Committee (รองอธ ประธาน)

16 ประเด็น : กระบวนการบริหารการคลังและงบประมาณ (เงินนอกงบประมาณ)
Core Business Screen & Select Production Screen & Select Output/ Outcome จัดทำแผนคำขอการเงินนอกงบประมาณ(สำนัก/กอง/ศูนย์) คณะ กรรมการพิจารณาเงินนอกงบประมาณ (สำนัก/กอง/ศูนย์) Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) แผนคำขอเงินนอกงบประมาณ (กรม) แผนเงินนอกงบประมาณ กรมอนามัย การจัดทำงบประมาณ (สำนัก/กอง/ศูนย์)ดำเนินการตามแผน เห็นชอบแผน การบริหารงบประมาณ ผลการเบิกจ่ายที่เป็นไปตามเป้าหมาย ดำเนินการ รายงานผลการผลการเบิกจ่ายงบประมาณ จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง บัญชี การเบิกจ่าย การตรวจสอบภายใน การติดตามประเมินผล (เงินนอกงบประมาณ) : สสส./ สปสช./เงินบำรุง/เงินช่วยเหลือต่างประเทศและภายในประเทศ

17 การดำเนินการบริหารการเปลี่ยนแปลง กลุ่มการคลังและงบประมาณ
ปีงบประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2560 1 เมษายน – 30 กันยายน 2559 1 ตุลาคม 2559 – 30 กันยายน 2560 รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย (6 เดือนหลัง) ถูกต้อง ตรงเวลา และเป็นไปตามเป้าหมายตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 การบริหารงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การติดตามประเมินผลงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ปรับปรุงการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย การบริหารการคลังและงบประมาณ (เงินนอกงบประมาณ) ประจำปี พ.ศ (ปีปฏิทิน)

18 การดำเนินการบริหารการเปลี่ยนแปลง กลุ่มบริหารการคลังและงบประมาณ
Quick Win 1 เมษายน – 30 กันยายน 2559 1.รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย ( 6 เดือนหลัง) ถูกต้อง ตรงเวลา และเป็นไปตามเป้าหมายตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด 2. ปรับปรุงการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย

19 1. รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย ( 6 เดือนหลัง) ถูกต้อง ตรงเวลา และเป็นไปตามเป้าหมายตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด ผลการเบิกจ่ายงบประมาณปี 2559 กรมอนามัย (6เดือนหลัง) เป็นไปตามเป้าหมายที่ครม. กำหนด 1 เม.ย.59 30 ก.ย.59 กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา 1. จัดทำมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ พร้อมกำหนดแบบฟอร์ม ให้หน่วยงานรายงานผลการเบิกจ่ายให้ผู้บริหารหน่วยงานทราบทุกวันที่ 15 ของเดือน - คณะกรรมการกลุ่มบริหารการคลังและงบประมาณ - เม.ย.59 2. เสนอขออนุมัติมาตรการฯ และแจ้งเวียนให้ทุกหน่วยงาน - กองคลัง - เม.ย.59 3. แจ้งแผนการโอนจัดสรรงบประมาณปี 2559 (40%) ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงานปี 2559 (6 เดือนหลัง) - กองแผน 4. ตรวจสอบผลการเบิกจ่ายงบประมาณฯ เสนอรองอธิบดีที่กำกับดูแลหน่วยงานในสังกัดทุกวันที่ 20 ของเดือน - ทุกเดือน (เม.ย.-ก.ย.59) 5. แจ้งผลการเบิกจ่ายงบประมาณฯ ในที่ประชุมกรมอนามัย

20 ปรับปรุงการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย
2. ปรับปรุงการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย แผนการจัดสรรงบประมาณฯ ปี กรมอนามัยที่สอดคล้องเหมาะสมกับแผนปฏิบัติการทั้ง 6 Cluster 1 เม.ย.59 30 ก.ย.59 กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา 1. วิเคราะห์แผนการจัดสรรงบประมาณฯ ที่ผ่านมาย้อนหลัง 3 ปี พร้อมหลักการการจัดสรรฯ - กองแผนงาน - พ.ค.59 2. จัดทำ (ร่าง) กรอบแนวทางการจัดสรรงบประมาณฯ ปี 2560 พร้อม (ร่าง) แผนการจัดสรรงบประมาณฯ กรมอนามัย - คณะกรรมการกลุ่มบริหารการคลังและงบประมาณ - มิ.ย.59 3. ประชุม Health & Environmental Health Committee เพื่อพิจารณา - Health & Environmental Health Committee - ก.ค.59 4. เสนอขออนุมัติและแจ้งเวียนกรอบแนวทางการจัดสรรฯ พร้อมแผนการจัดสรรฯ ที่ได้รับการอนุมัติให้แต่ละ Cluster ทราบ - ส.ค.59 5. ประชุม Cluster Committee ทั้ง 6 Cluster เพื่อชี้แจงและทำความเข้าใจในการจัดทำแผนการจัดสรรฯให้กับหน่วยงานภายใต้แต่ละ Cluster กองแผนงาน 6 Cluster

21 ปรับปรุงการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย
2. ปรับปรุงการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมอนามัย กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา 6. วิเคราะห์และจัดทำ (ร่าง) แผนการจัดสรรฯ ปี 2560 กรมอนามัยที่แต่ละ Cluster ทั้ง 6 Cluster ส่งมา กองแผนงาน กองคลัง - ส.ค.59 7. เสนอขออนุมัติและแจ้งเวียนแผนการจัดสรรฯ ปี 2560 กรมอนามัยให้ทุกหน่วยงาน - กองแผนงาน - ก.ย.59 8. วิเคราะห์และจัดทำ (ร่าง) แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณฯ ปี 2560 กรมอนามัยแต่ละ Cluster ทั้ง 6 Cluster ส่งมา 9. ประชุม Health & Environmental Health Committee เพื่อพิจารณาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณฯ ปี 2560 - Health & Environmental Health Committee 10. เสนอขออนุมัติและแจ้งเวียนแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณฯ ปี 2560 กรมอนามัยที่อนุมัติให้แต่ละ Cluster ทั้ง 6 Cluster ส่งมา

22 ข้อเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
1. มีคณะกรรมการทั้ง 6 cluster ในการบริหารจัดการงบประมาณ (Trim , Screen & Select) 2. งบประมาณทั้งขาขึ้นและขาลงสอดคล้องกัน 3. ระบบการประเมินผลและการรายงานการเงินให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีข้อมูลสารสนเทศที่ครบถ้วน ถูกต้อง เชื่อถือได้ นำไปใช้ประกอบการตัดสินใจผู้บริหารได้ 4. มีการนำระบบ IT มาช่วยในการดำเนินงานการบริหารจัดการงบประมาณทั้งระบบ 5. มีระบบการกระบวนการบริหารการคลังและงบประมาณ (เงินนอกงบประมาณ)

23 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ)
4.2 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การติดตาม ประเมินผลและปรับแผนการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ

24 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การติดตามประเมินผลและ ปรับแผนการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพตามกลุ่มวัย และงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามนโยบาย รัฐบาล/กระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย และการตรวจ ราชการกระทรวงสาธารณสุขกรณีปกติและบูรณาการ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์ ข้อจำกัด ปัจจัยความสำเร็จ ของการดำเนินงาน และการตรวจราชการในช่วง 6 เดือนแรก (ต.ค. 58 – มี.ค.59) เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุง และสนับสนุนการ ดำเนินงานและการตรวจราชการฯ ในช่วง 6 เดือนแรก (ต.ค. 58 – มี.ค.59) ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

25 ระหว่างวันที่ 17-19 พฤษภาคม 2559
วัน เวลา สถานที่ ระหว่างวันที่ พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟคลับ จ.ปทุมธานี กลุ่มเป้าหมาย - ผู้บริหาร/ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้อำนวยการสำนัก/กอง/ศูนย์ และ เลขานุการกรม - ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการกรม ประจำเขตสุขภาพที่ 1-12 ทั้ง ส่วนกลางและศูนย์อนามัย - หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - นักวิชาการที่รับผิดชอบตัวชี้วัดจากสำนัก/กองวิชาการ

26 กรอบแนวทางการนำเสนอผลการดำเนินงานใน การประชุมฯ
การจัดทำสรุปผลการดำเนินงานภาพรวมตาม แผนปฏิบัติการ/คำรับรองปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 และมติสำคัญจากที่ ประชุมกรมอนามัย (รอบ 6 เดือน) การนำเสนอสถานการณ์ผลการดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพและงานอนามัยสิ่งแวดล้อม/แนวทางการ ดำเนินงานในช่วง 6 เดือนหลัง โดยแบ่งกลุ่มนำเสนอ ตามกลุ่มวัยและงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 6 กลุ่ม

27 กรอบแนวทางการนำเสนอผลการดำเนินงานใน การประชุมฯ (ต่อ)
ประเด็นการนำเสนอ (Power point) และเอกสารสรุปผลการ ดำเนินงานรอบ 6 เดือนที่ผ่านมา (ต.ค. 58 – มี.ค.59) ประกอบด้วย สรุปสถานการณ์ของแต่ละกลุ่มวัย/อนามัยสิ่งแวดล้อม ผลการดำเนินงาน แผนงาน/โครงการสำคัญตามนโยบาย รัฐบาล กระทรวง กรม ที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวในการ ดำเนินงาน แนวทาง/แผนงานในการปรับปรุงการดำเนินงานในช่วง 6 เดือนหลัง ให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice)

28 กรอบแนวทางการนำเสนอผลการดำเนินงานใน การประชุมฯ (ต่อ)
ประชุมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ผลสรุปการตรวจราชการ ภาพรวม รอบที่ 1 ตามกลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม” (ผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มประกอบด้วย ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการ กรม นักวิชาการจากศูนย์อนามัยที่ 1-13 และนักวิชาการ ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดจากส่วนกลาง) แบ่งกลุ่มประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( 5 กลุ่มวัย, กลุ่ม อนามัยสิ่งแวดล้อม และกลุ่มงานทันตกรรม) สำนัก/กองวิชาการจัดเตรียมข้อมูลการตรวจราชการตาม ตก.1 และ ตก.2 และประเด็นสำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการประชุมกลุ่ม

29 กรอบแนวทางการนำเสนอผลการดำเนินงานใน การประชุมฯ (ต่อ)
ประเด็นการประชุมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการนำเสนอ ผลการประชุมฯ สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 1 ในภาพรวมของแต่ ละกลุ่มวัย/อนามัยสิ่งแวดล้อม/งานทันตกรรม ปัญหา/อุปสรรคที่พบในแต่ละพื้นที่ และการแก้ไข ปัญหา ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ รอบที่ 1 เพื่อนำมาสู่ Intervention/Innovation ประเด็น/ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สำคัญ เพื่อเป็นแนว ทางการตรวจราชการ รอบที่ 2/2559

30 วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ

31 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google