งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ (สอส)

2 ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ ภาคใต้
โรงเรียนเด็กแก้มใส ภาคใต้

3 ศูนย์อนามัยที่รับผิดชอบ
หน่วยงานต้นสังกัด ขนาดโรงเรียน สพฐ. 23 รร. อปท. 2 รร. เล็ก (1-120 คน) 4 รร. กลาง( คน) 14 รร. ใหญ่ (300 คนขึ้นไป) 7 รร. 25โรงเรียน สู่การเป็น ศรร. ภาคใต้ ศูนย์อนามัยที่รับผิดชอบ งบประมาณ ศอ.11-12 เล็ก 80,000 บาท กลาง 100,000 บาท ใหญ่ 120,000 บาท ศอ.11 11 รร. ศอ.12 14 รร.

4 รายชื่อโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
จังหวัด โรงเรียนบ้านลำทับ กระบี่ โรงเรียนชุมชนใหม่ นครศรีธรรมราช โรงเรียนบ้านโคกกลาง โรงเรียนคุระบุรี พังงา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์1 โรงเรียนบ้านบางครั่ง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 3 ชุมพร โรงเรียนบ้านทุ่งรักษ์ชัยพัฒน์ โรงเรียนบ้านกุยเหนือ โรงเรียนบ้านนา ระนอง

5 รายชื่อโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
จังหวัด โรงเรียนเทศบาล3 วัดสมุทราราม สุราษฎร์ธานี โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด พัทลุง โรงเรียนท่างิ้ว (ต.ช.ด.อุปถัมภ์) ตรัง โรงเรียนบ้านเกาะเสือ โรงเรียนบ้านบ่อหิน โรงเรียนบ้านควนพระสาครินทร์ โรงเรียนบ้านหลังเขา โรงเรียนบ้านท่าลาด โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง โรงเรียนบ้านวังปริง

6 รายชื่อโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
จังหวัด โรงเรียนบ้านบาโงย ยะลา โรงเรียนบ้านยางงาม สงขลา โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย โรงเรียนบ้านคลองหอยโข่ง โรงเรียนบ้านหินผุด

7 แผนสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ ปี 59
Promotion of Healthy Lifestyle Cluster สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

8 “สร้างเด็กไทยให้เต็มศักยภาพด้วยอาหารและโภชนาการ”
พระราชดำรัส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “สร้างเด็กไทยให้เต็มศักยภาพด้วยอาหารและโภชนาการ”

9 ยุทธศาสตร์ และจุดเน้น + โครงการตามแนวพระราชดำริ
3 กลุ่มวัย 4 Settings + โครงการตามแนวพระราชดำริ + การขับเคลื่อนนโยบาย

10 ชุมชน เพิ่มอัตราการบริโภคผักผลไม้ในประชาชนไทย
ควรมีอาหารเสริมสอนแม่ ลดเด็กเตี้ยในอนาคต สวนผัก ในชุมชนเมือง ความมั่นคงทางอาหาร ชุมชนเกษตรปลอดภัย ชุมชน เพิ่มอัตราการบริโภคผักผลไม้ในประชาชนไทย ลดอัตราชุกของภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนของเด็กวัยเรียน

11 >50% 80% <10% ของประชากรมี กิจกรรมทางกายที่เพียงพอ อัตราชุกของ
ตัวชี้วัดตามทิศทาง10 ปี สสส. ที่กลุ่มแผนฯเป็นเจ้าภาพ ของประชากรมี กิจกรรมทางกายที่เพียงพอ >50% ของประชากรบริโภคผักผลไม้ เพียงพอตามข้อแนะนำ อัตราชุกของ ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน <10%

12 แนวคิดการพัฒนาโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาทเจ้าฟ้านักโภชนาการ
เหนือ 30 อีสาน 44 เหนือ 30 อีสาน 30 ศรร. 1 ศรร. 2 กลาง 23 ใต้ 25 กลาง 30 ใต้ 30 โรงเรียนในโครงการเด็กไทยแก้มใส ที่เตรียมพัฒนา เป็นศูนย์เรียนรู้ โรงเรียน ที่สนใจจะเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนอื่นๆ ที่สนใจนำองค์ความรู้ไปขยาย....ต่อๆไปอีก...จนเต็มพื้นที่ประเทศไทย

13 บูรณาการสู่โครงการ เท่ห์กินผัก...น่ารักกินผลไม้ ลด หวาน มัน เค็ม
โภชนาการสมวัย โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม อาหารปลอดภัย อย.น้อย บูรณาการสู่โครงการ เด็กไทยดูดี มีพลานามัย

14 การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ
ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส เน้นบูรณาการกิจกรรมที่ 1 – 4 , 8 การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและสุขภาพนักเรียน -ฐานข้อมูล, แปลผล, ใช้ข้อมูลในการพัฒนางาน 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน นิสัยการกิน สุขนิสัยที่ดี ออกกำลังกาย 3. การจัดบริการอาหาร ตามหลักโภชนาการ,ตามหลักสุขาภิบาล อาหารปลอดภัย,ใช้เกลือไอโอดีน การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน โรงอาหาร โรงครัว ห้องน้ำ ฯลฯ มีโภชนาการสมวัย สุขภาพดี ผลการเรียนดี มีจิตสาธารณะ จัดบริการสุขภาพนักเรียน -ตรวจความสะอาดร่างกาย -ปฐมพยาบาล -หนอนพยาธิและ มาลาเรีย 1. เกษตรในโรงเรียน -ปลูกพืชผัก ผลไม้ เพาะเห็ด -เลี้ยงสัตว์, ประมง ฯลฯ 2. สหกรณ์นักเรียน -สหกรณ์ร้านค้า -ออมทรัพย์ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ -เกษตรผสมผสาน, สหกรณ์ -สุขบัญญัติ, โภชนบัญญัติ -สุขาภิบาลอาหาร, ออกกำลังกาย ขยายผลสู่ชุมชน

15 หลักคิดของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
สุขภาวะเด็ก ตัวชี้วัด เจริญเติบโตสมวัย : นน./ส่วนสูง อ้วน ผอม ภาวะอ้วน ผอม เตี้ย (อย่างละ) ไม่เกิน ร้อยละ 7 การจัดการ อาหารเด็ก สถานการณ์กินอาหาร/ออกกำลังกาย ที่บ้านและโรงเรียน ตัวชี้วัด จัดอาหารกลางวันให้เด็กกินผัก-ผลไม้ตามสัดส่วนมาตรฐาน ผู้ปกครองจัดอาหารให้เด็กกินผักที่บ้าน ศรร โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส วัด 3 กลุ่มคือ เด็ก ผู้ปกครอง และ ชุมชน ตัวชี้วัด การทำงานร่วมกับชุมชนและผู้ปกครอง กิจกรรมหลัก 8 องค์ประกอบ 1. เกษตรในโรงเรียน 2. สหกรณ์นักเรียน 3. จัดบริการอาหาร 4. ติดตามภาวะโภชนาการ 5.พัฒนาสุขนิสัย ส่งเสริมสุขภาพ 6.พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 7.จัดบริการสุขภาพเด็กนักเรียน 8.จัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ ความรู้ / นวัตกรรม / รูปแบบ ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการสมวัย

16 การประเมินพฤติกรรม การกินและออกกำลังกาย
นักเรียน ชั้น ป. ๔ – ม. ๓ จำนวนนักเรียน จำนวนข้อมูล (สุ่มตามหลักสถิติ) ช่วงระยะเวลาเก็บข้อมูล เริ่มโครงการ ระหว่างโครงการ ปิดโครงการ ไม่เกิน 120 คน ร้อยละ 100 6-10 มิย. 2559 5-9 กย. 2559 6-10 กพ. 2560 > คน ≥ร้อยละ 30 1,000-9,999 คน ≥ร้อยละ 25

17 ผลที่คาดหวังของโครงการ (Outcome)
เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วม ในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน เกิดกระแสตื่นตัวในสังคม ให้ความสำคัญกับ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน

18 แนวทางการดำเนินงาน ผู้บริหารโรงเรียนประกาศนโยบาย ภารกิจ และตัวชี้วัด ในการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ในที่เปิดเผย แก่คณะครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและ ชุมชน ให้ทราบโดยทั่วกัน มีการจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา พฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ ควบคู่กับ การออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย และการ ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง ผู้รับผิดชอบอาหารกลางวัน เข้ารับการอบรม และสามารถใช้โปรแกรม Thai School Lunch เพื่อจัดอาหารกลางวันให้เป็นไปตาม ข้อแนะนำได้ โรงเรียนมีการพัฒนาต่อยอด การดำเนิน กิจกรรมใน 8 องค์ประกอบตามพระราชดำริ มีคณะทำงานและการดำเนินงานที่ชัดเจน ประกอบด้วยครูทุกกลุ่มสาระ ส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองจัดทำ กิจกรรม เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน และนำไป ประยุกต์ใช้ในครอบครัว ร่วมจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ- สุขภาพ และ เปิดโอกาสให้โรงเรียนอื่นๆ หรือบุคคลในชุมชนที่สนใจ เข้าศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ จัดให้มีการพัฒนาทักษะชีวิต ทั้งใน และ นอกห้องเรียน โดยการมีส่วนร่วมจาก โรงเรียนมี ข้อตกลงร่วมกับชุมชนที่จะร่วมกันลงทุนเพื่อเด็กให้เกิดความยั่งยืน ผู้ปกครองและบุคลากรในชุมชน มีระบบการตรวจสอบ คัดกรอง ด้านคุณภาพของอาหารหลัก ขนม นมโรงเรียน และเครื่องดื่มที่ให้บริการในโรงเรียน และบริเวณโรงเรียน

19 Smart Learning Center 16 ตัวชี้วัดย่อย สหกรณ์นักเรียน เกษตรในโรงเรียน
มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน มีผลผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชน และเครือข่ายในพื้นที่ 2. มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมงไปใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวัน 1. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ (ใช้ TSL) 2. ปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ 4. ร้านจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง สหกรณ์นักเรียน การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน เกษตรในโรงเรียน จัดบริการอาหาร Smart Learning Center 16 ตัวชี้วัดย่อย การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย การจัดบริการสุขภาพนักเรียน 1. มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส 2. มีกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรง จนถึงเสียชีวิต

20 กิจกรรมพัฒนา 8 องค์ประกอบ
กรอบการดำเนินงานและตัวชี้วัดศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส (ศรร.) ผลลัพธ์ที่คาดหวังของโครงการ (Outcome) เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางใน การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ ดีต่อสุขภาพ สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน สังคมมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน ตัวชี้วัด นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน 7 % ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ (กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี) นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย 2.1 ผักวันละ ประมาณ กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม) และมัธยม 5 ช้อน (90 กรัม)) 2.2 ผลไม้ (อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน 3. ระดับความสำเร็จของ โรงเรียน ชุมชน ในการพัฒนาด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ สุขภาพ กิจกรรมพัฒนา 8 องค์ประกอบ ตัวชี้วัด 1. เกษตรในโรงเรียน 1. มีผลผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชน และเครือข่ายในพื้นที่ 2. มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมงไปใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวัน 2. สหกรณ์นักเรียน 1. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน 3. จัดบริการอาหาร 1. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ (ใช้ Thai School Lunch Program) 2. ปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ 4. ร้านจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ 4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน 1. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 1 ครั้ง 5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร 6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 1. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน 7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรง จนถึงเสียชีวิต 8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย 1. มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส 2. มีกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย แนวทางการดำเนินงาน ผู้บริหารโรงเรียนประกาศนโยบาย ภารกิจ และตัวชี้วัด ในการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ในที่เปิดเผยแก่คณะครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน ทราบโดยทั่วกัน มีการจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ ควบคู่กับการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย และการลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง โรงเรียนมีการพัฒนาต่อยอด การดำเนินกิจกรรมใน 8 องค์ประกอบตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ผู้รับผิดชอบอาหารกลางวัน เข้ารับการอบรม และสามารถใช้โปรแกรม Thai School Lunch เพื่อจัดอาหารกลางวันให้เป็นไปตามข้อแนะนำได้ มีคณะทำงานและการดำเนินงานที่ชัดเจนประกอบด้วยครูทุกกลุ่มสาระ ร่วมจัดกระบวนการร่วมจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ และจัดให้มีการพัฒนาทักษะชีวิต ทั้งใน และนอกห้องเรียน โดยการมีส่วนร่วมจากผู้ปกครองและบุคลากรในชุมชน ส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองจัดทำกิจกรรม เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน และนำไปประยุกต์ใช้ในครอบครัว เปิดโอกาสให้โรงเรียนอื่นๆ หรือบุคคลในชุมชนที่สนใจ เข้าศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ มีระบบการตรวจสอบ คัดกรอง ด้านคุณภาพของอาหารหลัก ขนม นมโรงเรียน และเครื่องดื่มที่ให้บริการในโรงเรียน และบริเวณโรงเรียน โรงเรียนมี Commitment กับชุมชนที่จะร่วมลงทุนเพื่อให้เกิดความยั่งยืน

21 ทิศทางการขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยแก้มใส
พัฒนายุทธศาสตร์ สร้างความร่วมมือภาคีพันธมิตร ประมวลองค์ความรู้จากโครงการพระราชดำริฯ เปิดตัวโครงการและรับสมัครโรงเรียน (ปี พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘) โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ๕๔๔ แห่ง กำกับภาพรวม บริหารยุทธศาสตร์โครงการ สร้างกลไกหนุนเสริมงานของโรงเรียน ติดตามประเมินผลด้วยตนเองและพี่เลี้ยง ถอดบทเรียน และสื่อสารความสำเร็จ (ปี พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๕๙-๒๕๖๐) Learning Center โรงเรียนเด็กไทยแก้มใสต้นแบบ ± ๒๕๐ แห่ง โรงเรียนเด็กไทยแก้มใสเครือข่าย ± ๒๙๔ แห่ง

22 ทิศทางการขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยแก้มใส
พัฒนาโรงเรียนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เชื่อมประสานหน่วยงานต้นสังกัด ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย บูรณาการเข้าสู่ระบบปกติ สื่อสารสาธารณะ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๐-๖๑) Smart Lerning Center ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ที่มีศักยภาพ-พร้อมขยายผล ผลที่คาดหวัง นักเรียนมีสุขภาพดีพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น มีทักษะการใช้ชีวิต โรงเรียนลดปัญหาโภชนาการของนักเรียนลงได้ และ มีแนวทางส่งเสริมสุขภาพนักเรียน อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปกครอง และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน เกิดกระแสตื่นตัวในสังคม ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน

23 วิธีเขียนข้อเสนอโครงการ
โรงเรียน ภาพ ปัจจุบัน หนทางก้าวสู่อนาคต ภาวะโภชนาการ การจัดอาหาร การเพิ่มผัก บ้าน โรงเรียน ชุมชน โรงเรียนพัฒนาเป็นศรร.ภายใน กพ. 2560

24 วิธีเขียนข้อเสนอโครงการ
หลักการและความจำเป็น ภาพสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาที่ต้องการแก้ไขและแนวทางแก้โดยสรุป วัตถุประสงค์ –สิ่งที่อยากทำให้เกิดขึ้น – วัดได้อย่างเป็นรูปธรรม วปส.ข้อ (ชุดกิจกรรม ) วปส.ข้อ (ชุดกิจกรรม ) วปส.ข้อ (ชุดกิจกรรม ) ชุดกิจกรรม – กระบวนการ – ปัจจัยที่ต้องใช้ เพื่อนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละข้อ ระยะเวลา และ ปฏิทินกิจกรรม งบประมาณ ทั้งงบสมทบจากโรงเรียน ต้นสังกัด ชุมชน /อื่นๆ และ งบที่ขอมาเสริมจาก สสส. เพื่อใช้เป็น Seeding money โดยจะต้องใช้เพื่อต่อยอดกิจกรรมและสามารถงอกเงยต่อเนื่องได้ต่อไป

25 วัตถุประสงค์ของโครงการ
วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อพัฒนาโรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้องให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ผู้ปกครองและโรงเรียนในพื้นที่อำเภอห้วยยอด จำนวน โรงเรียน ในการเจริญรอยตามพระยุคลบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีด้านเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ แบบบูรณาการภายในปี 2560 วัตถุประสงค์เฉพาะ

26 ตัวชี้วัดโครงการ(ในภาพรวม)
นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน 7 % ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ (กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี) นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย 2.1 ผักวันละ ประมาณ กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม) และมัธยม 5 ช้อน (90 กรัม)) 2.2 ผลไม้ (อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน ดูน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง 3.ระดับความสำเร็จของ โรงเรียน ชุมชน ในการพัฒนาด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ สุขภาพ

27 7 1 กิจกรรมควรบูรณาการให้การเชื่อมโยงกัน และควรระบุผลลัพธ์ ผลผลิต ของแต่ละกิจกรรมให้ชัดเจน การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมจากโรงเรียนสู่ครอบครัวชุมชน เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืน 6 2 เพิ่มกิจกรรมที่แสดงถึงการต่อยอดและเป็นเอกลักษณ์ของการเป็นศูนย์เรียนรู้ โดยส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ของโรงเรียน ให้ทบทวนเรื่องการใช้จ่ายงบประมาณให้เหมาะสม สมประโยชน์ และตรวจสอบได้ 8 การติดตามประเมินผลขอให้จัดทำให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม สรุปความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภาพรวม เพื่อเป็นแนวทางในการปรับข้อเสนอโครงการ 5 ลดกิจกรรมด้านการเกษตรเพื่อสามารถนำงบไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ เช่น การแก้ปัญหานักเรียน อ้วน ผอม หรือ พัฒนาศักยภาพ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง กิจกรรมที่มีอยู่แล้วไม่จำเป็นต้องของบแต่ให้พิจารณาว่าโรงเรียนขาดด้านใดให้เพิ่มด้านนั้น 9 4 เพิ่มเติมส่วนของความต่อเนื่องและขยายผล ควรดำเนินการหรือมีวิธีอย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรมควรเป็นการสร้างความตระหนักหรือฝึกทักษะ มากกว่าจะเป็นการก่อสร้างต่างๆ 3

28 รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2 รุ่นที่ 3 รุ่นที่ 4
Workshop: Thai School Lunch การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ กลุ่มเป้าหมาย: โรงเรียนละ 2 คน 1. ครูโภชนาการ/ผู้ดูแลอาหารกลางวัน 2. ครูอนามัย ให้เบิกค่าเดินทางจากผู้จัด สำหรับการนำรถมาเอง เบิกได้ 1 โรงเรียน ต่อ 1 คันเท่านั้น วันที่อบรม ผู้เข้าอบรม 20 – 22 เมษายน 2559 27 – 29 เมษายน 2559 2 - 4 พฤษภาคม 2559 ภาคเหนือ 30 จังหวัด ภาคอีสาน 30 จังหวัด ภาคกลาง 23 + อีสาน 8 รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2 รุ่นที่ 3 รุ่นที่ 4 10 – 12 พฤษภาคม 2559 ภาคใต้ อีสาน 8

29 โรงเรียนเจ้าภาพ / สถานที่
กิจกรรมประชุมสัญจร ศรร.ภาคใต้ (ศอ.11- ศอ.12 = สมาชิก 25 โรงเรียน) ครั้งที่ วันที่ โรงเรียนเจ้าภาพ / สถานที่ 1 ส.ค. 59 โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย อ.รัตภูมิ จังหวัดสงขลา (ศอ.12) 2 10-11 ต.ค. 59 โรงเรียนชุมชนใหม่ อ.ท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช (ศอ.11) 3 16-17 ก.พ. 60 โรงเรียนบ้านเกาะเสือ อ.ปากพะยูน จังหวัดพัทลุง (ศอ.12)

30 ช่วงแลกเปลี่ยน เรียนรู้


ดาวน์โหลด ppt โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google