SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
สกลนครโมเดล.
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา. สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับอำเภอรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561 อำเภอวิเศษชัยชาญ วันที่ 13 มิถุนายน 2561.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ

สภาพปัญหา จำนวนผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังยังมีอัตราเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังรับบริการใน รพ. ตั้งแต่ทุติยภูมิ ขึ้นมา จำนวนผู้ป่วยที่ควบคุมโรคเบาหวานได้ดียังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ผู้ป่วย COPD - อัตราการ Re-admit สูงกว่าเกณฑ์ - ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่ได้น้อยกว่าเกณฑ์ - ได้รับการตรวจ spirometry น้อยกว่าเกณฑ์

มาตรการแนวทางการจัดทำแผนงาน 1.พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วย NCD และการส่งต่อ 2.เพิ่มปริมาณการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และการคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย 3. พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้ผู้ป่วยสามารถควบคุม โรคได้ดีมากขึ้น 4.พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการเชื่อมโยงทั้งจังหวัด

เป้าประสงค์ของการพัฒนา แผนงาน 3 ปี (พ.ศ.2559-2561) เป้าประสงค์ของการพัฒนา ประเด็นการพัฒนา เป้าหมาย 2559 2560 2561 1.เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย NCD 1.พัฒนาบุคลากร 1.1 ส่งพยาบาลอบรมเฉพาะทางการดูแลผู้ป่วย NCD (Case Manager / Mini Case Manager) 1.2.ส่งพยาบาลอบรมการตรวจเท้า 1.3 ส่งพยาบาลอบรมการตรวจ spirometry รพ. สมเด็จฯ = 1 รพ.อัมพวา = 1 รพ.นภาลัย = 1 รพ. สมเด็จฯ = 2

เป้าประสงค์ของการพัฒนา แผนงาน 3 ปี (พ.ศ.2559-2561) เป้าประสงค์ของการพัฒนา ประเด็นการพัฒนา เป้าหมาย 2559 2560 2561 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ 2.1 จัดค่ายเบาหวานไม่พักแรมโดยใช้ฐานปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็น 3อ 2ส และการใช้ยา 2.2 จัดโปรแกรม Self Management ใน clinic แบบ group ทุกเช้า 2.3 ส่งจัดการรายกรณีใน case complex 2.4 ชมรมผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุก 3 เดือน รพ. สมเด็จฯ = 1 รพ.อัมพวา = 1 รพ.นภาลัย = 1

เป้าประสงค์ของการพัฒนา แผนงาน 3 ปี (พ.ศ.2559-2561) เป้าประสงค์ของการพัฒนา ประเด็นการพัฒนา เป้าหมาย 2559 2560 2561 2. เพิ่มปริมาณการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย NCD board จังหวัด ติดตามการพัฒนางาน ใน รพ. : ร่วมกับ PCT อายุรกรรม พัฒนาการดูแล รักษาผู้ป่วย ประชุมทุก 3 เดือน ดำเนินการ ต่อเนื่อง ดำเนินการต่อเนื่อง

ด้านงบประมาณดำเนินการ แผนงาน 3 ปี (พ.ศ.2559-2561) ด้านงบประมาณดำเนินการ มาตรการ/แผนงาน กิจกรรมหลัก เป้าหมาย 2559 2560 2561 1.เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย NCD 1.พัฒนาบุคลากร 1.1 ส่งพยาบาลอบรมเฉพาะทางการดูแลผู้ป่วย NCD (Case Manager / Mini Case Manager) 1.2.ส่งพยาบาลอบรมการตรวจเท้า 1.3 ส่งพยาบาลอบรมการตรวจ spirometry 90,000 15,000 20,000

แผนงาน 3 ปี (พ.ศ.2559-2561) ด้านบุคลากร ประเภทบุคลากร เรื่องที่พัฒนา เป้าหมาย 2559 2560 2561 1.พยาบาลวิชาชีพ 2.ผู้ช่วยเหลือคนไข้สำหรับคลินิกเท้าเบาหวาน - เพิ่มพยาบาลผู้จัดการรายกรณี (Nurse Case Manager) - เพิ่มผู้ช่วยเหลือคนไข้สำหรับคลินิกเท้าเบาหวาน รพ. สมเด็จฯ = 1 รพ.อัมพวา = 1 รพ.นภาลัย = 1

ผลการพัฒนา / ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 1.ผู้ป่วยที่ควบคุมโรคได้ดีตามเกณฑ์ (DM ≥ 40%, HT ≥ 50%) ข้อมูล ปีงบประมาณ 2558(1ตค.57 – 30กย.58)

ผลการพัฒนา / ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.DM : คัดกรองภาวะแทรกซ้อนครอบคลุมตามเกณฑ์ ≥ 60% ข้อมูลปีงบประมาณ 2558 (1 ต.ค.57 - 31 ก.ย.58) ข้อมูล เป้าหมาย รพ.สมเด็จฯ รพ.นภาลัย รพ.อัมพวา ตรวจตา >60% 70.89 (2,970/4,189) 12.25 (150/1,224) 54.69 (466/852) ตรวจเท้า 40.74 (1,707/4,189) 51.63 (632/1,224) 56.10 (478/852) ตรวจ eGFR 49.65 (2,080/4,189) 87.01 (1,065/1,224) 42.14 (359/852) ตรวจ UMA 45.09 (1,889/4,189) 35.56 (303/852) ตรวจ Lipid 40.15 (1,682/4,189) 82.35 (1,008/1,224) 359/852 คำนวณ VCD riskscore >80% 99.35 (1,216/1,224) 90.14 (768/852)

ผลการพัฒนา / ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.HT : คัดกรองภาวะแทรกซ้อนครอบคลุมตามเกณฑ์ ≥ 60% ข้อมูลปีงบประมาณ 2558 (1 ตค.57 - 31 กย.58) ข้อมูล เป้าหมาย รพ.สมเด็จฯ รพ.นภาลัย รพ.อัมพวา ตรวจ eGFR >60% 46.53 (2,380/5,114) 87.69 (1,318/1,503) 44.48 (621/1,396) ตรวจ UA 50.56 (2,586/5,114) 56.22 (845/1,503) ตรวจ Lipid 85.62 (1,287/1,503) 51.07 (713/1,396) คำนวณ VCD riskscore >80% 80.40 (4,112/5,114) 95.01 (1,428/1,503) 89.83 (1,254/1,396)

ผลการพัฒนา / ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.DM : คัดกรองภาวะแทรกซ้อนครอบคลุมตามเกณฑ์ ≥ 60% ข้อมูลไตรมาสแรก ปี 2559 (1 ต.ค.58 - 30 ธ.ค.59) ข้อมูล เป้าหมาย รพ.สมเด็จฯ รพ.นภาลัย รพ.อัมพวา ตรวจตา >15% 35.65 (1,253/3,514) 51.21 (466/910) ตรวจเท้า 25.89 (910/3,514) 52.54 (478/910) ตรวจ eGFR 20.83 (732/3,514) 85.49 (778/910) ตรวจ UMA 19.15 (673/3,514) 70.23 (639/910) ตรวจ Lipid 23.53 (827/3514) 90.77 (826/910) คำนวณ VCD riskscore >20% (827/3,514)

ผลการพัฒนา / ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.HT : คัดกรองภาวะแทรกซ้อนครอบคลุมตามเกณฑ์ ≥ 60% ข้อมูลไตรมาสแรก ปี 2559 (1 ต.ค.58 - 30 ธ.ค.59) ข้อมูล เป้าหมาย รพ.สมเด็จฯ รพ.นภาลัย รพ.อัมพวา ตรวจ eGFR >15% 18.99 (661/3}480) 89.95 (1,333/1,482) ตรวจ UA 14.71 (512/3480) 81.44 (1,207/1,482) ตรวจ Lipid 26.14 (910/3,480) 97.97 (1,363/1,482) คำนวณ VCD riskscore >20%

ผลการพัฒนา / ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 4.อัตราผู้ป่วย ส่งกลับหน่วยปฐมภูมิ ข้อมูลปีงบประมาณ 2558 (1 ตค.57 - 31 กย.58) ข้อมูล เป้าหมาย สมเด็จฯ นภาลัย อัมพวา DM รพ. :รพ.สต. 50 : 50 74.35 : 25.65 63.56 : 36.44 57.64 : 42.36 HT รพ.:รพ.สต. 64.58 : 35.42 53.92 : 46.08 32.98 : 67.02

ผลการพัฒนา / ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 5. COPD ข้อมูลปีงบประมาณ 2558 (1 ตค.57 - 31 กย.58) ข้อมูล เป้าหมาย สมเด็จฯ นภาลัย อัมพวา อัตราการอดบุหรี่ได้ >80% 15.78 (3/19) (0/15) 75.90 (63/83) ร้อยละผู้ที่ได้รับการตวจ spirometry >60% 34.52 (73/209) (0/57) (0/100) อัตราตาย <4% 2.67 0.35 0.95 อัตราการ admit ต่อแสนประชากร <130 213.79 101.72 34.49 อัตราการ re admit ใน 28 วัน <10% 27.10 10 4.53

ประเด็นปัญหา 1.DM, HT ปรับแนวทางการส่งต่อ และการเยี่ยมติดตาม ปรับปรุงแนวทางการรักษา เบาหวานใน รพท.รพช. รพสต.เพื่อให้เกิดเครือข่ายการรักษาและการส่งต่อที่ครอบคลุม จัดตั้งกลุ่มเพื่อปรับแปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ (ค่ายเบาหวานแบบไม่พักแรม : Day Camp) ทำ self monitoring blood glucose (SMBG) ทำ Self Management ใน clinic แบบ group HbA1C < 7 ต่ำกว่าเป้าหมาย อัมพวา : จัดโครงการตรวจตา/เท้า โดยบริษัทเอกชน นภาลัย : พยาบาลเวชปฏิบัติตา รพ สมเด็จฯ ช่วยตรวจ DM : คัดกรอง ตา/เท้าได้น้อย ให้ญาติช่วยเก็บปัสสาวะจากบ้านในรายที่ไม่สามารถเก็บเองที่ รพ.ได้ อธิบายให้เข้าใจถึงความสำคัญของการเก็บปัสสาวะส่งตรวจ HT ได้รับการตรวจ UA น้อย ปรับแนวทางการส่งต่อ และการเยี่ยมติดตาม อัตราการส่งกลับปฐมภูมิน้อย

ประเด็นปัญหา อดบุหรี่น้อยกว่าเกณฑ์ อัตราการadmit สูง (รพ สมเด็จฯ) 4. COPD พิจารณาการใช้ยาอดบุหรี่ อดบุหรี่น้อยกว่าเกณฑ์ ทบทวนแนวทางการดูแลผู้ป่วย และติดตามกำกับดูแลให้ปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนด อัตราการadmit สูง (รพ สมเด็จฯ) อัตราการ re admit สูง (รพ.สมเด็จฯ)

สิ่งที่ต้องการให้ สสจ.สนับสนุนเพื่อการดำเนินการ จัดโครงการเชิงรุกเพื่อตรวจ fundus camera โครงการเข้าค่ายเบาหวานไม่พักแรม การสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่อง spirometry, DTX, HOME BP

สิ่งที่จะให้ทาง สสจ. ช่วยสนับสนุน การดำเนินงานโครงการ - โครงการ เข้าค่ายเบาหวานไม่พักแรม ( Day camp ) ผู้มีภาวะเสี่ยง จำนวน 200 คน ค่าใช้จ่าย 51,100 บาท - โครงการ พัฒนาบุคลากร - พัฒนา จนท. ที่จะตรวจ เท้า ตา 3 คน - พัฒนา จนท. ที่จะตรวจ spirometry 3 คน 2. สนับสนุนครุภัณฑ์ - เครื่องเจาะ DTX สำหรับให้ผู้ป่วยทำ SMBG จำนวน 20 เครื่อง เป็นเงิน 20,000 บาท - เครื่องวัด BP สำหรับให้ผู้ป่วยทำ Home BP จำนวน 20 เครื่อง เป็นเงิน 30,000 บาท - เครื่องตรวจ spirometry ใน รพช. จำนวน 2 เครื่อง