งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข คณะที่ 2 service plan ปี 2559 สาขา NCD (DM - HT - COPD)
พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค 18 ธ.ค. 2558

2 ตัวชี้วัด Service Plan สาขาโรคไม่ติดต่อ ปี 2559
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี มากกว่าหรือ เท่ากับร้อยละ 40 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี มากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 50 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 7 อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไม่เกิน 130 ต่อแสนประชากร

3 ผู้ป่วย DM ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ได้ดี (เป้าหมาย : >40%)
Service plan NCD : DM HT KPI ผู้ป่วย DM ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ได้ดี (เป้าหมาย : >40%) ผู้ป่วย HT ที่ควบคุมระดับ BP ในเลือดได้ดี (เป้าหมาย : > 50%) สถานการณ์ปัญหา การที่ผู้ป่วย DM HT ไม่สามารถควบคุมน้ำตาล/ความดันโลหิตได้ดีย่อมส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง เพิ่มขึ้น ข้อมูลปี 2558 พบว่าในคลินิกบริการผู้ป่วย DM HT สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้อย่างเหมาะสมร้อยละ 38.2 และ 60.9 (MedResNet) ตามลำดับ ข้อมูลภาพจังหวัดและเขต (area based จากระบบ HDC) สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้เพียงร้อยละ เท่านั้น ผู้ป่วย DM HT ส่วนหนึ่งไม่เข้าถึงบริการ/ ขาดนัด ไม่รับประทานยาสม่ำเสมอ ไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง การบันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง ครบถ้วน มาตรการสำคัญ 1. ผู้ป่วย DM HTได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพและเข้าถึงบริการ 2. ผู้ป่วย DM HT ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได้รับคำปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตาม

4 การเงินการคลังสาธารณสุข
การบริหารระบบ (DM HT) การจัดบริการสุขภาพ เป้าหมายบริการ -คลินิก NCD คุณภาพ (A S M1 M2 F1 F2 F3) -คลินิก NCD คุณภาพ อย่างน้อย 2 รพสต. ต่อ CUP กิจกรรม -การประเมินพฤติกรรมเสี่ยงและให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเชื่อมโยงคลินิก NCD บูรณาการหรือส่งต่อ คลินิก DPAC คลินิกอดบุหรี่/สุรา คลินิกคลายเครียด -ติดตามการใช้ยา ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -ติดตามผู้ที่ขาดนัดหรือไม่มารับบริการ กำลังคนด้านสุขภาพ -System manager ระดับจังหวัด และระดับอำเภอ -NCD case manager (A S M1 M2 F1 F2 F3) -NCD case coordinator/mini case manager (รพสต.) -อายุรแพทย์ต่อมไร้ท่อ(A S) -อายุรแพทย์(A S M1 M2 F1) -พยาบาล/นักวิชาการสธ ที่ผ่านการอบรมการให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(A S M1 M2 F1 F2 F3) -นักกำหนดอาหาร(A S M1 M2) -นักสุขภาพครอบครัว(รพสต.) การเงินการคลังสาธารณสุข - งบลงทุนวัสดุ อุปกรณ์ เครื่อง BGM,BP - งบอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วย DM ที่ควบคุมระดับน้ำตาลใน เลือดได้ดี (เป้าหมาย : >40%) ผู้ป่วย HT ที่ควบคุมระดับ BP ใน เลือดได้ดี (เป้าหมาย : > 50% อภิบาลระบบสุขภาพ - คณะกรรมการ service plan สาขาโรคไม่ติดต่อระดับเขต และจังหวัด - แผน service plan สาขาโรคไม่ติดต่อระดับเขต จังหวัด ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะ ยาว - กลไกการติดตามประเมิน ผลของเขตบริการและจังหวัด - มีการดำเนินงานเชื่อมโยงกับชุมชน ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และเทคโนโลยี Lab -FCG ,FPG,HbA1C เครื่องมือ -เครื่องวัด BP -เครื่อง blood glucose meter (BGM) ระบบสารสนเทศ - มีการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รายงานผ่าน HDC - มี Data registry Data center ทุกจังหวัดและเชื่อมโยงเป็นระดับเขตตามศักยภาพ - มีการประเมินข้อมูลทุก 3 เดือน

5 การตรวจราชการ DM HT จังหวัด สถานบริการสุขภาพทุกระดับ การตรวจราชการ
การจัดบริการสุขภาพ ระบบสารสนเทศ กำลังคนด้านสุขภาพ จังหวัด - รพ.ระดับ A, S, M1, M2, F1, F2, F3 ผ่านเกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ และ มีคลินิก NCD คุณภาพ อย่างน้อย 2 รพสต. ต่อ CUP มี Data center การบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน รายงานผ่าน HDC มีการประเมินข้อมูลทุก 3 เดือน - มีคณะกรรมการ service plan สาขาโรคไม่ติดต่อระดับจังหวัด - มี System manager ระดับจังหวัด และระดับอำเภอ - มีการพัฒนาและอบรมศักยภาพบุคลากรตามความต้องการหรือ gap ภายในจังหวัดหรือภายในเขต สถานบริการสุขภาพทุกระดับ - ผู้ป่วย DM HTได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพ - การประเมินพฤติกรรมเสี่ยงและให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเชื่อมโยงคลินิก NCD บูรณาการหรือ ส่งต่อ คลินิก DPAC คลินิกอดบุหรี่/สุรา คลินิกคลายเครียด - ติดตามการใช้ยา ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ติดตามผู้ที่ขาดนัดหรือไม่มารับบริการ - ข้อมูลผู้ป่วย DM HT ที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ข้อมูลผู้ป่วย DM HT ที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่มา/ไม่มาตามนัด ข้อมูลผู้ป่วย DM HT ที่ควบคุมระดับน้ำตาลละความดันโลหิตได้ดี - มี NCD case manager (รพ.ระดับ A, S, M1, M2, F1, F2, F3), NCD case coordinator/mini case manager (รพสต.), มีทีมสหวิชาชีพ มีพยาบาล/นักวิชาการสาธารณสุข ที่ผ่านการอบรมการให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (รพ.ระดับA, S, M1, M2, F1, F2, F3) นักกำหนดอาหาร (รพ.ระดับ A, S, M1, M2), นักสุขภาพครอบครัว (รพ.สต.)

6 Six building blocks plus
เป้าหมาย : ลดอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล < ต่อแสนประชากร อายุ > 15 ปี (baseline data ต่อแสนประชากร อายุ > 15 ปี สิทธิ UC ปี 2556) Service plan NCD : COPD สภาพปัญหา เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของคนไทย เป็นผู้ป่วยที่รับไว้รักษามากเป็นอันดับต้นๆ โดยเฉพาะใน รพช. คนไทยยังสูบบุหรี่เป็นประจำ เกือบ 10 ล้านคน มีอัตราป่วยแตกต่างกันระหว่างเขต (มากที่เขตภาคเหนือ /ภาคใต้ ) อัตราเข้ารักษาในโรงพยาบาล 315 ครั้งต่อแสนประชากร >15 ปี ( HDC ปีงบประมาณ 2558 ) 1. Service Delivery COPD clinic บริการ วินิจฉัย รักษา ฟื้นฟูสภาพ โดยสหวิชาชีพ ปฏิบัติตามมาตรฐานแนวปฏิบัติการรักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ปี 2553 มีระบบขึ้นทะเบียน และติดตามการรักษาต่อเนื่อง บริการตรวจสมรรถภาพปอด ด้วยเครื่อง Spirometry มีระบบเยี่ยมบ้าน และ long term care บริการเพื่อการเลิกบุหรี่ 2.ข้อมูลการขึ้นทะเบียนผู้ป่วย และผลการประเมินการรักษา 3. บุคลากรสหสาขาวิชาชีพ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบำบัด 4.งบประมาณ สนับสนุน สถานที่เครื่องมือ การอบรมเจ้าหน้าที่ 5. ยา/วัคซีน/เทคโนโลยี ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล เครื่อง Spirometry (ควรมีถึงระดับ F1) 6.การกำกับดูแล ระดับเขต ระดับจังหวัด และระดับ CUP 7. การดูแลผู้ป่วยในชุมชน : long term care ใช้ออกซิเจนระยะยาวที่บ้าน Six building blocks plus

7 การตรวจราชการ COPD การตรวจราชการ
การจัดบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) ระบบสารสนเทศ (Information system and sharing) กำลังคนด้านสุขภาพ (Health workforce) การเงินการคลังสาธารณสุข (Financing) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และ เทคโนโลยี การอภิบาลระบบสุขภาพ(Leadership and Governance) ตัวชี้วัด Service 1. รพศ./รพท./รพช. จัดบริการ COPD Clinic ทุกแห่ง (เป้า = 100%) - บริการด้านยา และสอนพ่นยา - บริการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด - ข้อมูล ผป.ที่ขึ้นทะเบียน - แพทย์/พยาบาล/เภสัชกร /นักกายภาพบำบัด ผู้ป่วย spirometry - การจัดอบรม จนท. - ยา long acting bronchodilator Spirometry วัคซีนไข้หวัดใหญ่ - การติดตามผลการดำเนินงานในระดับจังหวัด/อำเภอ ร่วมกับทีม NCD 2. รพศ./รพท./รพช. มีบริการ เพื่อการเลิกบุหรี่ (เป้า รพศ/รพท = 100%) (เป้า รพช =60 %) - บริการให้คำแนะนำเพื่อการเลิกบุหรี่ บริการให้การรักษาผู้สูบบุหรี่ - ข้อมูลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง และเลิกบุหรี่สำเร็จ - แพทย์/พยาบาล ที่ผ่านการฝึกอบรม - ยาช่วย /รักษา เพื่ออดบุหรี่ - การติดตามผลลัพธ์ การเลิกบุหรี่ ในกลุ่มเสี่ยง

8 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google