วาระที่ 4.2 พิจารณาเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การแปลงยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทบาทกรมอนามัยต่อการขับเคลื่อน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วาระที่ 4.2 พิจารณาเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย เอกสารหมายเลข 5 วาระที่ 4.2 พิจารณาเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 : ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายมีศักยภาพในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กองค์รวม ตัวชี้วัดที่ 1 : ท้องถิ่นมีแผนส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 : ท้องถิ่นมีระบบการกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินแผนงานส่งเสริมการเกิดและเติบโตอย่างเป็นระบบ เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ตัวชี้วัดที่ 2 : ทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก ≤ 2,500 กรัม ร้อยละ 8.5 (ตชว รอง) เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัดที่ 1 : เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 (วัดที่อายุ 42 เดือน) ตัวชี้วัดที่ 2 : เด็กอายุ 3-5 ปี มีพัฒนาการด้านภาษาสมวัย ร้อยละ 70 (ตชว รอง) เป้าประสงค์ที่ 2 ภาคีเครือข่ายนำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ ตัวชี้วัดที่ 1 : สถานบริการสาธารณสุขทกระดับผ่านมาตรฐานบริการอนามัยแม่และเด็กคุณภาพร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 : ศูนย์เด็กเล็กผ่านคุณภาพ ร้อยละ70 เป้าประสงค์ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด-ต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 (ใส่ในยุทธฯ นมแม่ และเป็น ตชว รอง) ตัวชี้วัดที่ 1 : เด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน ร้อยละ 65 และ ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 119 ซม. คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Networking and Partnership) การเติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ (Growth, Innovation & Potential) กระบวนการภายใน (Internal Process) ประชาชน (People) เป้าประสงค์ที่ 3 ภาคีเครือข่ายเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กด้วยสื่อท้องถิ่นหรือสื่อสาธารณะ ตัวชี้วัดที่ 1 : มีการจัดรายการส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพตามเสียงไร้สาย/วิทยุชุมชน/รถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ ร้อยละ70 ของตำบล ตัวชี้วัดที่ 2 : จังหวัดมีการรณรงค์ จัดนิทรรศการความรู้ในวันสำคัญต่างๆ ร้อยละ 1000 (เช่น วันเด็ก วันแม่แห่งชาติ วันครอบครัว) เป้าประสงค์ที่ 1 มีบุคลากรสหวิชาชีพจำนวนเพียงพอและมีสมรรถนะในการทำงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มแม่และเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดที่ 1 : บุคคลากรมอนามัยมีความเชี่ยวชาญแบบมืออาชีพ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 2 : บุคลากรมีความพึงพอใจต่อองค์กร ร้อยละ 80 เป้าประสงค์ที่ 1 มีกระบวนการส่งมอบองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมการส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม ร้อยละ 70 ตัวชี้วัดที่ 2 : ความพึงพอใจในการใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม ร้อยละ 80 เป้าประสงค์ที่ 2 มีระบบเฝ้าระวังส่งเสริมสุขภาพมารดาและเด็กปฐมวัยที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังมารดาตายตามเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตัวชี้วัดที่ 2 : จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามเกณฑ์ ร้อยละ 70 เป้าประสงค์ที่ 2 มีฐานข้อมูลและสารสนเทศมีความถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงง่าย ตัวชี้วัดที่ 1 : ฐานข้อมูลการตายมารดา จำนวน 1 ระบบ ตัวชี้วัดที่ 2 : ฐานข้อมูลด้านสุขภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้องจำนวน 1 ระบบ เป้าประสงค์ที่ 3 มีงานวิจัย/สำรวจ/นวัตกรรม/กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กปฐมวัยที่เหมาะสม ตัวชี้วัดที่ 1 : หน่วยงานสังกัดกรมอนามัยมีการศึกษาชุดโครงการวิจัย ทุก 3 -5 ปี จำนวน 1 ชุดโครงการ ตัวชี้วัดที่ 2 : หน่วยงานสังกัดกรมอนามัยมีการประเมินผลแผนงาน/โครงการ ร้อยละ 100 เป้าประสงค์ที่ 3 มีการสื่อสารสังคม สร้างกระแสต่อการพัฒนาสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก ตัวชี้วัดที่ 1 : มีการเผยแพร่ความรู้ทางโทรทัศน์/วิทยุ ในระดับส่วนกลางและศูนย์อนามัยทุกแห่ง ตัวชี้วัดที่ 2 : มีโมเดลสาธิตเพื่อการพัฒนาสุขภาพกลุ่มแม่และเด็กเป็นแหล่งเรียนรู้ระดับศูนย์อนามัยทุกเขต

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.2 : ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เป้าประสงค์ที่ 1 มีกระบวนการในการกำหนดมาตรฐานการบริการสุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : มีคณะทำงานจากภาคีเครือข่ายและ สหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดที่ 2 : มาตรฐานได้รับการทดลองและประเมินผลก่อนนำไปใช้ เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโต เต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน ร้อยละ 65 และส่วนสูงเฉลี่ยเด็ก 14 ปี (กำหนดเป้าหมาย) ตัวชี้วัดที่ 2 : เด็กวัยเรียน (ม.1) มีสมรรถภาพทางกายระดับดีและดีมาก ร้อยละ 80 - ตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เป็นตชว รอง เป้าประสงค์ที่ 2 มีกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัดที่ 1 : มีคณะทำงานจากภาคีเครือข่ายและสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดที่ 2 : ภาคีเครือข่ายเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักให้พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Networking and Partnership) การเติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ (Growth, Innovation & Potential) กระบวนการภายใน (Internal Process) ประชาชน (People) เป้าประสงค์ที่ 1 - กำหนดมาตรฐานการบริการส่งเสริม สุขภาพเด็กวัยเรียน - มีระบบฐานข้อมูลภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียน - พัฒนางานวิจัยเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของภาคีเครือข่ายที่นำมาตรฐานไปใช้ ร้อยละ 50 ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายที่นำมาตรฐานไปใช้ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 3 : มีระบบฐานข้อมูลภาวะสุขภาพเด็ก วัยเรียน 1 ระบบ ตัวชี้วัดที่ 4 : มีงานวิจัยเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ปีละ 1 เรื่อง เป้าประสงค์ที่ 1 มีแผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสหวิชาชีพ ตัวชี้วัดที่ 1 : บุคลากรสหวิชาชีพได้รับพัฒนาสมรรถนะ ร้อยละ 100 เป้าประสงค์ที่ 2 มีองค์ความรู้การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของภาคีเครือข่ายที่นำองค์ความรู้ไปใช้ ร้อยละ 50 ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายที่นำองค์ความรู้ไปใช้ ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดที่ 3 : มีกระบวนการในการจัดทำ องค์ความรู้การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ตัวชี้วัดที่ 4 : องค์ความรู้การดูแลสุขภาพ แบบองค์รวมได้รับการทดลองและประเมินผลก่อนนำไปใช้

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายมีศักยภาพในการจัดการกับปัญหาสามารถนำองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสุขภาพไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม และมีการบูรณาการการทำงานร่วมกัน ตัวชี้วัดที่ 1 : มีรพ.สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองตามม.บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน(YFHS) ฉบับบูรณาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในปี 2559 ตัวชี้วัดที่ 2 : อำเภอที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ในปี 2559 ตัวชี้วัดที่ 3 : มี อปท. ที่เข้ามาเป็นเครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นสมัครเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 100 แห่ง เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 45 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน ภายในปี พ.ศ. 2564 (พิจารณาปรับค่าเป้าหมาย) - ตัวชี้วัดการตั้งครรภ์ซ้ำ กำหนดเป็น Functional KPI ตัวชี้วัดที่ 2 : วัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 และ ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปีชาย เท่ากับ 173 ซม. และหญิง เท่ากับ 161 ซม. - ตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เป็นตชว รอง คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Networking and Partnership) การเติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ (Growth, Innovation & Potential) กระบวนการภายใน (Internal Process) ประชาชน (People) เป้าประสงค์ที่ 1 บุคลากรมีความรู้ ทักษะ ภาวะ ผู้นำ การทำงานเป็นทีม สามารถใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี ข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนมี ศักยภาพเป็นที่ยอมรับจากองค์กรทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ ตัวชี้วัดที่ 1 : มีการจัดอบรมหรือให้โอกาสบุคลากรเข้ารับการอบรมในหัวข้อที่สามารถนำมาพัฒนางานได้ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (บุคลากรสามารถปฏิบัติงานที่ ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้อง ทันเวลา) ตัวชี้วัดที่ 2 : มีเครื่องมือสนับสนุนในการทำงานอย่างเพียงพอเหมาะสมและมีความทันสมัย (บุคลากรมีเครื่องมือสนับสนุนในการทำงานอย่างเพียงพอเหมาะสมและมีความทันสมัย สามารถปฏิบัติงานได้) ตัวชี้วัดที่ 3 : มีการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพ ผู้ประเมินให้สามารถตรวจประเมินได้ตรงกับมาตรฐานที่กำหนด (ผู้ประเมินมีมาตรฐานในการตรวจประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด) ตัวชี้วัดที่ 4 : มีระบบฐานข้อมูลที่เชื่อถือได้ มีเอกภาพ ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน (ฐานข้อมูลที่มีสามารถนำมาใช้ในการวางแผนหรือการคาดการณ์ปัญหาหรือผลกระทบในอนาคตได้อย่างใกล้เคียง) เป้าประสงค์ที่ 1 กระบวนการบริหารจัดการ ภายในที่ดี เอื้อต่อการดำเนินงานให้มี ประสิทธิภาพ ทั้งด้านความถูกต้อง ครบถ้วน ตรงต่อเวลา และตรงกับความต้องการ ตัวชี้วัดที่ 1 : มีการติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนและเกิดประโยชน์สูงสุด (สามารถเบิกจ่ายเงินในแต่ละไตรมาสได้ตามแผนและเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด) ตัวชี้วัดที่ 2 : มีการส่งมอบองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ตรงกับความต้องการจำเป็นของผู้รับ (สามารถส่งมอบองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมตรงกับความต้องการจำเป็นของผู้รับ ไม่น้อยกว่าร้อนละ 70) ตัวชี้วัดที่ 3 : มีระบบการสื่อสารสังคมที่ชัดเจน เข้าใจง่ายและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย (การสื่อสารสังคมที่จัดทำขึ้นสามารถส่งถึงกลุ่มเป้าหมายในช่องทางที่เหมาะสม) มีระบบกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (มีการติดตามประเมินผลด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง)

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน ที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 1 มีแกนนำด้านสุขภาพ(Health Leader) ที่มีศักยภาพ ในสถานประกอบการ/ตำบล เพื่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละ 30 ของสถานประกอบการมีแกนนำด้านสุขภาพ (Health Leader) ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละ 50 ของตำบลทั้งหมดที่มีแกนนำด้านสุขภาพ (Health Leader) เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี (วัดโดย BMI หรือ tools อื่น/วัดช่วงอายุเท่าไหร่) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของประชากรวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 1 (เอาไปใช้ต่อได้เป็นตัวชี้วัดระดับรองลงมา) เป้าประสงค์ที่ 2 ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง2 มีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงาน 2 คือ อปท. กระทรวงแรงงาน และสถานประกอบการ เป็นต้น ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละ 60 ของภาคีเครือข่ายทั้งหมด มีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงาน 1 คือ หลัก 3 อ 2ส 1ฟ 2น 1. มีพฤติกรรมการบริโภคผักผลไม้สดลดอาหารหวาน มัน เค็ม 2. มีพฤติกรรมออกกำลังกาย/เคลื่อนไหวออกแรง อย่างน้อย 5 วัน/สัปดาห์ อย่างน้อย 30นาที/วัน 3. สามารถจัดการกับความเครียดได้ 4. ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา 5. มีการดูแลสุขภาพช่องปาก การแปรงฟันตามหลัก 2:2:2 6. นอนหลับสนิทวันละไม่ต่ำกว่า 5 ชั่วโมง 7. สตรีสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี และได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Networking and Partnership) การเติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ (Growth, Innovation & Potential) กระบวนการภายใน (Internal Process) ประชาชน (People) เป้าประสงค์ที่ 1 มีนโยบายส่งเสริมสุขภาพ ประชากรวัยทำงานในระดับชาติ ตัวชี้วัดที่ 1 : นโยบายส่งเสริมสุขภาพประชากร วัยทำงานในระดับชาติ จำนวน 3 เรื่อง เป้าประสงค์ที่ 1 บุคลากรกรมอนามัยมีสมรรถนะ ที่ดี เพื่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพประชากร วัยทำงาน ตัวชี้วัดที่ 1 : บุคลากรกรมอนามัยได้รับการพัฒนาสมรรถนะ และมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 60 เป้าประสงค์ที่ 2 มีระบบและกลไกการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงานอย่างบูรณาการในทุกระดับ3 3 คือ ทุกระดับ ได้แก่ ระดับส่วนกลาง ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ 1 : ความสำเร็จของระบบและกลไกการดำเนินงาน4 อยู่ในระดับ 5 เป้าประสงค์ที่ 2 มีงานวิจัย องค์ความรู้ มาตรฐาน และแนวทางการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงานที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : งานวิจัย องค์ความรู้ มาตรฐาน และแนวทางการดำเนินงานที่สามารถนำไปใช้ได้ ร้อยละ 80 เป้าประสงค์ที่ 3 มีระบบการบริหารจัดการทรัพยากร เพื่อการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : ความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากร4 อยู่ในระดับ 5 เป้าประสงค์ที่ 2 ระบบฐานข้อมูล (Health Data Center) ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชากรวัยทำงานที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : มีระบบฐานข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชากรวัยทำงานที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย ใช้งานได้ จำนวน 1 ระบบ เป้าประสงค์ที่ 4 มีระบบเฝ้าระวังสุขภาพ การถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านสุขภาพของประชากรวัยทำงานที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : ความสำเร็จของระบบเฝ้าระวังสุขภาพ การถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยี 4 อยู่ในระดับ 5 4 คือ ตัวชี้วัดเป็นประเภทกระบวนการ

(THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.5 : ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตัวชี้วัดที่ 1 : HALE= อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) ไม่น้อย กว่า 72 ปี (ปรับอายุ) เป้าประสงค์ที่ 1 เครือข่ายสุขภาพและเครือข่ายอื่นๆ มีความผูกพัน มีพันธะสัญญาร่วมที่เข้มแข็งสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของตำบล Long Term Care ผ่าน องค์ประกอบตามเกณฑ์ (ร้อยละ 50) ตัวชี้วัดที่ 2 : ชุมชนท้องถิ่น มีการดำเนินงาน Age-Friendly City (จังหวัดละ 1 เมือง/ชุมชน) คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Networking and Partnership) การเติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ (Growth, Innovation & Potential) กระบวนการภายใน (Internal Process) ประชาชน (People) เป้าประสงค์ที่ 1 ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุและการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุและการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ที่ได้รับการยอมรับทั้งในและต่างประเทศ (อย่างน้อย 1 ระบบ) ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความพึงพอใจของ Stakeholder ที่มีต่อ Product (ร้อยละ 80) เป้าประสงค์ที่ 1 บุคลากรทำงานแบบ มืออาชีพในการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ บนฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพภายใต้บรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนบุคลากรมืออาชีพ (เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง) ตัวชี้วัดที่ 2 : มีระบบข้อมูล สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเข้าถึงได้ง่าย (จำนวนผู้นำข้อมูล สารสนเทศไปใช้หรืออ้างอิง)

2. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.1 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.1 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 1ภาคีเครือข่ายสาธารณสุขระดับตำบลและอำเภอสามารถสื่อสารสร้างความเข้าใจและมีส่วนร่วมจัดทำแผนงาน/โครงการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้ ตัวชี้วัดที่ 1 :จำนวน รพ.สต.และหรือ สสอ. ที่สนับสนุนและร่วมดำเนินโครงการ/กิจกรรมด้าน อวล. ที่เป็นปัญหาของชุมชนอย่างน้อย 1 เรื่องต่อปี (ปี 2560 = 1,000 รพ.สต. ปี 2561-2564 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ของ รพ.สต.ทั้งหมด) เป้าประสงค์ที่ 1ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) (รู้สถานการณ์ปัญหา จัดลำดับความสำคัญ เฝ้าระวังและมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นและภาครัฐในการจัดการปัญหาและดูแลอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน) ตัวชี้วัดที่ 1 : มีชุมชนที่มีศักยภาพ* ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างน้อย ตำบลละ 1 ชุมชน (ร้อยละ 100 ในปี 2564) (ปี 2560 = 1,000 ตำบล ปี 2561-2564 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ของจำนวนตำบลทั้งหมด) * ชุมชนที่มีศักยภาพ คือ 1.มีแกนนำชุมชน และ/หรือ อสม. ด้าน อวล. อย่างน้อย 1 คนต่อชุมชน 2.มีประเด็น อวล. บรรจุในแผนหรือธรรมนูญสุขภาพ ชุมชนหรือตำบล 3.มีเครือข่ายเฝ้าระวัง/จัดการ อวล. ในชุมชนและ/หรือชุมชนร่วมวิจัย และจัดการความรู้ของชุมชน อย่างน้อย 1 เรื่อง 4.มีการจัดทำมาตรการทางสังคมด้าน อวล. ระดับชุมชน เป้าประสงค์ที่ 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้คุณภาพ ตามมาตรฐานที่กำหนด ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของ อปท. ที่สามารถจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามมาตรฐาน EHA ที่กำหนด (EHA 5 ด้าน ได้แก่ ขยะ-ปฏิกูล-อาหาร- น้ำ-กฎหมายสาธารณสุข) (ร้อยละ 70 ของ อปท.ทุกระดับ ภายในปี2564) ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของ อปท. ที่สามารถจัดพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน ตลาด สถานที่ดูแลสำหรับผู้สูงอายุ ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด (ร้อยละ 50 ของเทศบาลทุกระดับ ภายในปี 2564) คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Networking and Partnership) การเติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ (Growth, Innovation & Potential) กระบวนการภายใน (Internal Process) ประชาชน (People) เป้าประสงค์ที่ 3 จังหวัดมีระบบและกลไกในการจัดการปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของพื้นที่ได้ ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบและกลไกในการจัดการปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของพื้นที่ตามที่กำหนด (ร้อยละ 100) เป้าประสงค์ที่ 1 บุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมมีสมรรถนะสูง สามารถทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละ 60 ของนักวิชาการในแต่ละหน่วยงานส่วนกลาง ได้รับการพัฒนาทักษะและความรู้ที่จำเป็น อย่างน้อย 3 ด้านต่อปี (ด้านการวิจัย ด้านความรู้วิชาการอนามัยสิ่งแวดล้อม และด้านการวางแผนกลยุทธ์) เป้าประสงค์ที่ 1กรมอนามัยมีระบบและกลไกการสื่อสาร การสนับสนุนการดำเนินงานและการประเมินรับรองมาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ ตัวชี้วัดที่ 1 : มีระบบประเมินรับรองมาตรฐานคุณภาพการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาคีเครือข่าย ภายในปี 2560 ตัวชี้วัดที่ 2 : มีระบบและกลไกสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุขสำหรับเจ้าพนักงานสาธารณสุขและเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตัวชี้วัดที่ 3 : มีองค์ความรู้และชุดความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และกลุ่มเป้าหมายต่างๆ พร้อมเผยแพร่ เป้าประสงค์ที่ 2 มีระบบฐานข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นระบบเดียว ที่มีความครอบคลุม ทันสมัย และเข้าถึงได้สะดวก ตัวชี้วัดที่ 1 : มีระบบข้อมูลและสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นระบบเดียว มีความครอบคลุม ทันสมัย และเข้าถึงได้สะดวก เป้าประสงค์ที่ 2 มีระบบติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลสะท้อนกลับได้ทุกระดับ ตัวชี้วัดที่ 1 : มีรายงานสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมประจำปี เพื่อใช้เป็นแหล่งอ้างอิง และเผยแพร่แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 1 ประชาชนและภาคีเครือข่ายได้รับการดูแล คุ้มครอง และปกป้อง ด้วยระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดที่ 1 : ประชาชนได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 1การผนึกกำลังของประชารัฐ*อย่างมีเอกภาพ * รัฐ/เอกชน/ประชาชน/NGOs ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนแผนบูรณาการที่มีการร่วมกันของประชารัฐ คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Networking and Partnership) การเติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ (Growth, Innovation & Potential) กระบวนการภายใน (Internal Process) ประชาชน (People) เป้าประสงค์ที่ 1 มีระบบข้อมูลสารสนเทศ บริหารจัดการความรู้ และระบบเฝ้าระวังที่เข้าถึง ใช้ประโยชน์ได้ ตัวชี้วัดที่ 1 : การเข้าถึงระบบข้อมูลสารสนเทศ บริหารจัดการความรู้ และระบบเฝ้าระวัง เป้าประสงค์ที่ 1 ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 2 บุคลากรมีศักยภาพและมีความรับผิดชอบ ตัวชี้วัดที่ 1 : ผลการดำเนินงานเป็นไปตามแผนพัฒนาบุคลากร

4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กร ที่มีสมรรถนะสูง และมีธรรมาภิบาล

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง และมีธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ที่ 1 ประชาชนและภาคีเครือข่ายพึงพอใจสินค้า (Product) และบริการของ กรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละความพึงพอใจในสินค้า (Product) และบริการของกรมอนามัย (ร้อยละ 80) เป้าประสงค์ที่ 1 ประชารัฐนำ Product ของกรมอนามัยไปใช้ ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนภาคีเครือข่ายประชารัฐที่นำProduct กรมอนามัยไปใช้ คุณภาพระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Networking and Partnership) การเติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ (Growth, Innovation & Potential) กระบวนการภายใน (Internal Process) ประชาชน (People) เป้าประสงค์ที่ 1 หน่วยงานกรมอนามัยมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานเพื่อผลการดำเนินการที่ดีขององค์การ ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตาม Blueprint for Change และ Action Plan เป้าประสงค์ที่ 1 กรมอนามัยเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนวัตกรรมที่ได้รับการพัฒนาและถูกนำไปใช้ ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวน Learning Personnel